รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2563 

 

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2563

ตารางวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานอุดมศึกษา

องค์ประกอบคุณภาพ

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

ผลการประเมิน

I

P

O

รวม

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 -

3.50

4.40

4.04

ดี

มาตรฐานที่ 2 การวิจัย ฯ

5.00

5.00

3.11

3.87

ดี

มาตรฐานที่ 3 การบริการวิชาการ

 -

5.00

5.00

5.00

ดีมาก

มาตรฐานที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

 -

4.00

5.00

4.00

ดี

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ

4.46

5.00

3.77

4.56

ดีมาก

คะแนนเฉลี่ยทุกมาตรฐาน

4.73

4.43

4.13

4.30

ดี

ผลการประเมิน

ดีมาก

ดี

ดี

ดี

 

 

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

องค์ประกอบคุณภาพ

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

บรรลุเป้าหมาย

คะแนนการประเมินของคณะกรรมการ

ตัวตั้ง

ผลลัพธ์

P= บรรลุ

ตัวหาร

(%หรือสัดส่วน)

O= ไม่บรรลุ

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน  

 

 

 

1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรที่มีพัฒนาการดีขึ้น

60

%

5

83.33

P

5.00

6

1.2 ความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพบัณฑิต

70

%

117

117.00

P

5.00

100

1.3 สมรรถนะด้านทักษะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา

3.51

 คะแนน

360

3.21

O

3.21

112

1.4 ระบบและกลไกการบริหารจัดการด้านผลลัพธ์ผู้เรียน

4

ข้อ

1,2,3,6

4

O

4.00

1.5 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาตรี

5

ข้อ

1,2,3

3

O

3.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 1

4.04

 

จุดแข็ง

  1. ผลการบริหารจัดการหลักสูตรทั้ง 6 หลักสูตรอยู่ในระดับ ดี
  2. มีกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้และการบริการแก่ผู้เรียนที่หลากหลาย
  3. มีเครือข่ายความร่วมมือด้านการจัดการเรียนการสอนที่สามารถต่อยอดจนนักศึกษาได้รับรางวัลในระดับชาติ

แนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มุ่งเน้นการบริหารจัดการหลักสูตรในทุกหลักสูตรให้มีการพัฒนาที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยผลักดันในองค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้ที่มีคะแนนยังไม่ถึงระดับคุณภาพดี
  2. พัฒนากลยุทธ์และเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ทุกหลักสูตรเป็นที่รู้จักของผู้เรียน หน่วยงาน และตลาดแรงงานมากยิ่งขึ้น
  3. พัฒนาให้นักศึกษามีแนวคิดในการสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ จากประสบการณ์ตรงและศักยภาพของอาจารย์ นอกเหนือจากเนื้อหาในหลักสูตร และหามาตรการให้นักศึกษาทุกคนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทางคณะจัดขึ้น โดยจำแนกกิจกรรม: ชั้นปี/จำนวนนักศึกษา และควรมีการทบทวนวิธีการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนในทุกกิจกรรม
  4. ขยายเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนให้มากยิ่งขึ้น เพื่อรองรับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาเข้าทำงานในสภาวะที่มีการแข่งขันสูง

 

มาตรฐานที่ 2 ผลลัพธ์การวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม

องค์ประกอบคุณภาพ

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

บรรลุเป้าหมาย

คะแนนการประเมินของคณะกรรมการ

ตัวตั้ง

ผลลัพธ์

P= บรรลุ

ตัวหาร

(%หรือสัดส่วน)

O= ไม่บรรลุ

มาตรฐานที่ 2 ผลลัพธ์การวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม

 

 

 

2.1 เงินสนับสนุนงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมจากภายนอก

3.51

คะแนน

4,693,101.1

99,853.21

P

5.00

47

2.2 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์

 12

%

4

8.51

O

2.13

47

2.3 ผลงานที่อยู่ระหว่างการคุ้มครองสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญาของอาจารย์ประจำคณะ

3.51

คะแนน 

1

2.13

O

2.66

47

2.4 จำนวนการอ้างอิงบทความของอาจารย์ประจำคณะในฐานข้อมูลของ TCI หรือ SCOPUS หรือฐานข้อมูลที่ กพอ.กำหนด ต่อจำนวนอาจารย์ประจำคณะ

3.51

คะแนน 

107

2.28

P

4.55

47

2.5 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรม

4

ข้อ

1,2,3,4,5

5

P

 5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 2

3.87

 

จุดแข็ง

  1. คณะมีเงินสนับสนุนงานวิจัย จากหน่วยงานภายนอก
  2. คณะมีผลงานของอาจารย์ที่มีคุณภาพ โดยมีผลงานตีพิมพ์และได้รับการอ้างอิงระดับนานาชาติ

แนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะควรมีการบูรณาการงานวิจัย บริการวิชาการ รวมถึงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน เพื่อสร้างความโดดเด่นของคณะ
  2. คณะควรมีการส่งเสริมให้นักวิจัยรุ่นใหม่เข้ามาร่วมสร้างผลงานมากขึ้น โดยสร้างระบบพี่เลี้ยง หรือการทำวิจัยเป็นทีม

ข้อเสนอแนะ

  1. คณะควรมีการวางแผนร่วมกับหลักสูตรหรือสถาบันวิจัยในการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ โดยเฉพาะการใช้ประโยชน์ในชุมชนหรือพัฒนาท้องถิ่น

 

มาตรฐานที่ 3 ผลลัพธ์ด้านบริการวิชาการ

องค์ประกอบคุณภาพ

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

บรรลุเป้าหมาย

คะแนนการประเมินของคณะกรรมการ

ตัวตั้ง

ผลลัพธ์

P= บรรลุ

ตัวหาร

(%หรือสัดส่วน)

O= ไม่บรรลุ

มาตรฐานที่ 3 ผลลัพธ์ด้านบริการวิชาการ

 

 

 

3.1 รายได้จากการบริการวิชาการ

3.51

คะแนน

1,228,855

  26,145.86

P

5.00

47

3.2  จำนวนผลิตภัณฑ์หรือองค์ความรู้ที่มีส่วนร่วมกับชุมชน

3.51

คะแนน

17

242.86

P

5.00

7

3.3 การพัฒนาท้องถิ่น

4

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 3

5.00

 

จุดแข็ง

  1. มีการสร้างรายได้จากการบริการวิชาการ กับหน่วยงานภายนอก และแก่ชุมชน สังคม อย่างต่อเนื่อง โดยการจัดการจากทรัพยากรภายใน
  2. ผลการดำเนินโครงการบริการวิชาการที่เกิดประโยชน์ต่อชุมชนเป้าหมายอย่างเป็นรูปธรรม

แนวทางเสริมจุดแข็ง

          ควรถอดบทเรียนความสำเร็จจากการดำเนินโครงการบริการวิชาการ เพื่อวิเคราะห์จุดแข็ง จุดควรพัฒนาเป็นรายโครงการ และอาจส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการกิจกรรมบริการวิชาการระหว่างสาขาวิชา เพื่อยกระดับการจัดกิจกรรมที่แสดงถึงศักยภาพทางวิชาการของคณาจารย์ในภาพรวมของคณะ และเกิดประโยชน์ต่อชุมชนเป้าหมายมากยิ่งขึ้น

 

มาตรฐานที่ 4  ผลลัพธ์ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย 

องค์ประกอบคุณภาพ

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

บรรลุเป้าหมาย

คะแนนการประเมินของคณะกรรมการ

ตัวตั้ง

ผลลัพธ์

P= บรรลุ

ตัวหาร

(%หรือสัดส่วน)

O= ไม่บรรลุ

มาตรฐานที่ 4  ผลลัพธ์ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย 

 

 

 

4.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้หรือองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม และความเป็นไทย

3.51

คะแนน

4

8.16

P

5.00

49

4.2 ระบบและกลไกศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

5

ข้อ

2,3,4,5,6

5

P

4.00

 เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 4

4.50

 

ข้อเสนอแนะ

    ควรกำหนดนโยบาย และการส่งเสริมศิลปะและความเป็นไทย เช่น ด้านอาหาร และความเป็นครู สู่ชุมชนเป้าหมายเพื่อสร้างความโดดเด่นของคณะเพื่อยกระดับ ภูมิปัญญา ของชุมชนท้องถิ่น ให้ชัดเจน

มาตรฐานที่ 5 ด้านบริหารจัดการ 

องค์ประกอบคุณภาพ

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

บรรลุเป้าหมาย

คะแนนการประเมินของคณะกรรมการ

ตัวตั้ง

ผลลัพธ์

P= บรรลุ

ตัวหาร

(%หรือสัดส่วน)

O= ไม่บรรลุ

มาตรฐานที่ 5 ด้านบริหารจัดการ 

 

 

 

 

 

 

5.1 การบริหารของคณะ

5

ข้อ

1,2,3,4,5,6,7

7

P

5.00

5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

5

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

5.3 ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของคณบดี

3.51

 คะแนน

 

3.77

P

3.77

5.4 ผลการบริหารคณาจารย์

3.51

 คะแนน

รวม 5.4.1ถึง 5.4.3

4.46

P

4.46

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 5

4.56

 

จุดแข็ง

  1. คณะมีระบบการประกันคุณภาพที่สามารถนำมาช่วยในการบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. อาจารย์ประจำมีคุณวุฒิปริญญาเอกร้อยละ 48.94 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (ร้อยละ 40)
  3. มีอาจารย์ที่มีศักยภาพ มีประสบการณ์ตรง มีความเชี่ยวชาญ และมีความพร้อมในการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับนักศึกษา

แนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. ควรมีการวางระบบกำกับติดตามให้หลักสูตรมีการดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์การประกันคุณภาพในทุกมิติ โดยนำจุดที่ควรพัฒนาของหลักสูตรในองค์ประกอบที่มีผลการประเมินที่ยังต่ำอยู่ มาช่วยในการวางแผนเพื่อให้หลักสูตรมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
  2. คณะควรมีการถอดบทเรียนเพื่อจัดการองค์ความรู้ในมิติอื่น ๆ เพิ่มเติมเพื่อแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของคณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำองค์ความรู้ด้านการวิจัย และการเรียนการสอนของคณาจารย์เพื่อนำมาปรับใช้ในการพัฒนา ชุมชนท้องถิ่น พัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพที่สามารถพัฒนาต่อยอดสร้างรายได้ให้กับชุมชนต่อไปได้

 

ทั้งนี้ โดยผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 11/2564 เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2564 ณ ห้องประชุมราชภัฏสภา  ชั้น 9 อาคารวิทยาภิรมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

 

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2563
ระดับคณะและหน่วยงานสนับสนุนวิชาการ

Download : รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2563 ระดับคณะและหน่วยงานสนับสนุนวิชาการ