รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะครุศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2563

 

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะครุศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2563

ตารางวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานอุดมศึกษา

มาตรฐาน

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

ผลการประเมิน

I

P

O

รวม

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 -

5.00

4.43

4.66

ดีมาก

มาตรฐานที่ 2 ผลลัพธ์การวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม

5.00

5.00

4.62

4.77

ดีมาก

มาตรฐานที่ 3 ผลลัพธ์ด้านการบริการวิชาการ

 -

4.00

4.29

4.19

ดี

มาตรฐานที่ 4 ผลลัพธ์ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย 

 -

5.00

5.00

5.00

ดีมาก

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ 

4.13

4.50

4.02

4.33

ดี

คะแนนเฉลี่ยทุกองค์ประกอบ

4.57

4.71

4.47

4.58

ดีมาก

ผลการประเมิน

ดีมาก

ดีมาก

ดี

ดีมาก

 

 

ตารางผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

องค์ประกอบคุณภาพ

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

บรรลุเป้าหมาย

คะแนนการประเมิน

ตัวตั้ง

ผลลัพธ์

P= บรรลุ

ของคณะกรรมการ

ตัวหาร

(%หรือสัดส่วน)

O= ไม่บรรลุ

 

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 

 

 

1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรที่มีพัฒนาการดีขึ้น

60

%

4

80.00

P

5.00

5

1.2 ความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพบัณฑิต

85

%

102

100.00

P

5.00

102

1.3 สมรรถนะด้านทักษะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา

3.75

คะแนน

283

3.29

O

3.29

86

1.4 ระบบและกลไกการบริหารจัดการด้านผลลัพธ์ผู้เรียน

4

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

1.5 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาตรี

5

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 1

4.66

มาตรฐานที่ 2 ผลลัพธ์การวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม

 

2.1 เงินสนับสนุนงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมจากภายนอก

3.75

คะแนน

2,198,952

84,575.08

P

5.00

26

2.2 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์

 13

%

4

15.38

P

3.85

26

2.3 ผลงานที่อยู่ระหว่างการคุ้มครองสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญาของอาจารย์ประจำคณะ

2.75

คะแนน

2

7.69

P

5.00

26

2.4 จำนวนการอ้างอิงบทความของอาจารย์ประจำคณะในฐานข้อมูลของ TCIหรือ SCOPUS หรือฐานข้อมูลที่ กพอ.กำหนด ต่อจำนวนอาจารย์ประจำคณะ

3.75

คะแนน

12

0.46

P

5.00

26

2.5 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรม

4

ข้อ

1,2,3,4,5

5

P

 5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 2

4.77

มาตรฐานที่ 3 ผลลัพธ์ด้านการบริการวิชาการ

 

3.1 รายได้จากการบริการวิชาการ

3.75

คะแนน

1,000,000

38,461.54

P

5.00

26

3.2  จำนวนผลิตภัณฑ์หรือองค์ความรู้ที่มีส่วนร่วมกับชุมชน

3.75

คะแนน

4

57.14

P

3.57

7

3.3 การพัฒนาท้องถิ่น

4

ข้อ

1,2,3,4

4

P

4.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 3

4.19

มาตรฐานที่ 4 ผลลัพธ์ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

 

4.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้หรือองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม และความเป็นไทย

3.75

คะแนน

2

7.69

P

5.00

26

4.2 ระบบและกลไกศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

5

ข้อ

1,2,3,4,5,6,7

7

P

5.00

 เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 4

5.00

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ

 

5.1 การบริหารของคณะ

5

ข้อ

1,2,4,5,6,7

6

P

4.00

5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

5

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

5.3 ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของคณบดี

4

คะแนน

 

4.02

P

4.02

5.4.1 อาจารย์ประจำคณะที่มี คุณวุฒิปริญญาเอก

3.75

คะแนน

13.5

51.92

P

5.00

26

5.4.2 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ

3.75

คะแนน

9

34.62

O

2.88

26

5.4.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำ

3.75

คะแนน

10.2

39.23

P

5.00

26

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 5

4.33

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกมาตรฐาน

4.58

 

จุดแข็ง ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการต่อไป

จุดแข็ง

  1. เงินสนับสนุนงานวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรม มีจำนวนสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ สกอ. กำหนด (84,08 บาทต่อคนจากเกณฑ์ 25,000 บาทต่อคน) ดังนั้น คณะควรมีการกำหนดเป้าหมาย ในการให้ทุนเพื่อสร้างนักวิจัยใหม่ให้มีศักยภาพในการขอทุนประเภทชุดโครงการที่สร้างประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมมากขึ้น และสอดรับกับนโยบายสนับสนุนทุนวิจัยของหน่วยงานภายนอก
  2. ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำ มีจำนวนสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ สกอ. (กระทรวง อว.) กำหนด
    (ร้อยละ 39.23 จากเกณฑ์ร้อยละ 20) ดังนั้นคณะควรนำผลงานวิชาการที่มีจำนวนมากดังกล่าวไปสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยการนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับคณะ และให้บริการวิชาการแก่สังคมเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนเป้าหมายซึ่งจะเป็นการสร้างชื่อเสียงให้กับคณะ
  3. อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก (ร้อยละ 51.92 จากเกณฑ์ร้อยละ 40) มีจำนวนสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ สกอ. และตำแหน่งทางวิชาการ (ร้อยละ 34.62 จากเกณฑ์ร้อยละ 60) ดังนั้น คณะควรสนับสนุนส่งเสริมให้อาจารย์ปริญญาเอกที่มีอยู่จำนวนมาก ได้ใช้ศักยภาพในการถ่ายทอดองค์ความรู้เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพสูงขึ้น และสร้างผลงานวิชาการ รวมทั้งนวัตกรรมให้เพิ่มมากขึ้น เพื่อสนับสนุนนโยบาย Thailand 0

 

ข้อเสนอแนะ

  1. คณะครุศาสตร์มีระบบแต่ไม่มีกลไกในการส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกหลักสูตรที่เปิดดำเนินการมีคุณภาพเพียงพอที่จะขอรับการเผยแพร่หลักสูตรตามระบบ TQR ที่ระบุไว้ใน มคอ.2 ของทุกหลักสูตร ดังนั้น อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คณบดี และมหาวิทยาลัย ต้องเร่งรีบวางมาตรการร่วมกับระดับมหาวิทยาลัย เพื่อกำหนดระบบและกลไกในการควบคุม กำกับ ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพหลักสูตรในทุกภาคการศึกษา และนำเสนอคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย/คณะเพื่อพิจารณา กำกับ ติดตามจนมีคุณภาพ เพื่อสามารถได้รับการเผยแพร่หลักสูตรตามระบบ TQR
  2. คณะควรดำเนินการตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาที่ได้พัฒนาขึ้นอย่างเต็มรูปแบบ โดยเฉพาะหน่วยงานสายสนับสนุนทุกหน่วยงาน คือ สำนักงานคณบดี เพื่อให้ได้ภาพสะท้อนของการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของคณะอย่างครบวงจร โดยสำนักงานคณบดีต้องสามารถประสานและรวบรวมข้อมูลที่ถูกต้อง  ครบถ้วน  และทันเวลาสำหรับการประกันคุณภาพการศึกษาได้ตามพันธกิจของคณะ
  3. แผนการดำเนินงานและโครงการในระดับคณะ ควรมีการกำหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน รวมทั้งตัวชี้วัดความสำเร็จทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์อย่างครบถ้วน ดังนั้นผู้บริหารต้องประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวนการจัดทำแผนพัฒนานักศึกษา แผนบริการวิชาการ แผนการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม แผนการจัดการความรู้ แผนบริหารความเสี่ยง แผนงานวิจัย แผนบริหารและพัฒนาบุคลากร ฯลฯ รวมทั้งมีการกำกับติดตามให้มีการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของแผนและมีการประเมินผลตามตัวชี้วัดความสำเร็จอย่างครบถ้วน
  4. ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำมีจำนวนสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ สกอ. กำหนด ควรมีการวางแผนพัฒนาอาจารย์เพื่อเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการจากผลงานทางวิชาการที่เผยแพร่ต่อไป

 

ทั้งนี้ โดยผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 11/2564 เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2564 ณ ห้องประชุมราชภัฏสภา  ชั้น 9 อาคารวิทยาภิรมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

 

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2563
ระดับคณะและหน่วยงานสนับสนุนวิชาการ

Download : รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2563 ระดับคณะและหน่วยงานสนับสนุนวิชาการ