รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564
ตารางวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานอุดมศึกษา |
|||||
มาตรฐาน |
คะแนนการประเมินเฉลี่ย |
ผลการประเมิน |
|||
I |
P |
O |
รวม |
||
มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน |
- |
5.00 |
4.53 |
4.72 |
ดีมาก |
มาตรฐานที่ 2 การวิจัย ฯ |
0.78 |
5.00 |
1.95 |
2.33 |
ต้องปรับปรุง |
มาตรฐานที่ 3 การบริการวิชาการ |
- |
5.00 |
5.00 |
5.00 |
ดีมาก |
มาตรฐานที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย |
- |
5.00 |
5.00 |
5.00 |
ดีมาก |
มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ |
4.29 |
5.00 |
3.68 |
4.49 |
ดี |
คะแนนเฉลี่ยทุกองค์ประกอบ |
2.54 |
5.00 |
3.81 |
4.12 |
ดี |
ผลการประเมิน |
พอใช้ |
ดีมาก |
ดี |
ดี |
|
ตารางผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
มาตรฐานคุณภาพ |
เป้าหมาย |
ผลการดำเนินงาน |
บรรลุเป้าหมาย |
คะแนนการประเมิน |
||
ตัวตั้ง |
ผลลัพธ์ |
P= บรรลุ |
ของคณะกรรมการ |
|||
ตัวหาร |
(%หรือสัดส่วน) |
û= ไม่บรรลุ |
|
|||
มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน |
|
|
|
|||
1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรที่มีพัฒนาการดีขึ้น |
70 |
% |
2 |
100.00 |
P |
5.00 |
2 |
||||||
1.2 ความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพบัณฑิต |
95 |
% |
110 |
110.00 |
P |
5.00 |
100 |
||||||
1.3 สมรรถนะด้านทักษะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา |
4.50 |
คะแนน |
298 |
3.59 |
O |
3.59 |
83 |
||||||
1.4 ระบบและกลไกการบริหารจัดการด้านผลลัพธ์ผู้เรียน |
6 |
ข้อ |
1,2,3,4,5,6 |
6 |
P |
5.00 |
1.5 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาตรี |
6 |
ข้อ |
1,2,3,4,5,6 |
6 |
P |
5.00 |
เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 1 |
4.72 |
|||||
มาตรฐานที่ 2 ผลลัพธ์การวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม |
|
|||||
2.1 เงินสนับสนุนงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมจากภายนอก |
3.75 |
คะแนน |
244,836 |
9,416.78 |
P |
0.78 |
26 |
||||||
2.2 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ |
18 |
% |
7 |
26.92 |
P |
5.00 |
26 |
||||||
2.3 ผลงานที่อยู่ระหว่างการคุ้มครองสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญาของอาจารย์ประจำคณะ |
3.50 |
คะแนน |
0 |
0.00 |
O |
0.00 |
26 |
||||||
2.4 จำนวนการอ้างอิงบทความของอาจารย์ประจำคณะในฐานข้อมูลของ TCI หรือ SCOPUS หรือฐานข้อมูลที่ กพอ.กำหนดต่อจำนวนอาจารย์ประจำคณะ |
3.75 |
คะแนน |
11 |
0.42 |
O |
0.85 |
26 |
||||||
2.5 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรม |
4 |
ข้อ |
1,2,3,4,5,6 |
6 |
P |
5.00 |
เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 2 |
2.33 |
|||||
มาตรฐานที่ 3 ผลลัพธ์ด้านการบริการวิชาการ |
|
|||||
3.1 รายได้จากการบริการวิชาการ |
3.75 |
คะแนน |
792,000 |
30,461.54 |
P |
5.00 |
26 |
||||||
3.2 จำนวนผลิตภัณฑ์หรือองค์ความรู้ที่มีส่วนร่วมกับชุมชน |
4.50 |
คะแนน |
6 |
200.00 |
P |
5.00 |
3 |
||||||
3.3 การพัฒนาท้องถิ่น |
6 |
ข้อ |
1,2,3,4,5,6 |
6 |
P |
5.00 |
เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 3 |
5.00 |
|||||
มาตรฐานที่ 4 ผลลัพธ์ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย |
|
|||||
4.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้หรือองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม และความเป็นไทย |
4.5 |
คะแนน |
4 |
15.38 |
P |
5.00 |
26 |
||||||
4.2 ระบบและกลไกศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย |
5 |
ข้อ |
1,2,3,4,5,6 |
6 |
P |
5.00 |
เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 4 |
5.00 |
|||||
มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ |
|
|||||
5.1 การบริหารของคณะ |
6 |
ข้อ |
1,2,3,4,5,6,7 |
7 |
P |
5.00 |
5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร |
6 |
ข้อ |
1,2,3,4,5,6 |
6 |
P |
5.00 |
5.3 ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของคณบดี |
3.51 |
คะแนน |
|
3.68 |
P |
3.68 |
5.4 ผลการบริหารคณาจารย์ |
4.50 |
คะแนน |
รวม 5.4.1ถึง 5.4.3 |
4.29 |
P |
4.29 |
เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 5 |
4.49 |
|||||
เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกมาตรฐาน |
4.12 |
จุดแข็ง ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการต่อไป
จุดแข็ง
- คณะสามารถผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพทั้งความรู้ การร่วมสร้างนวัตกรรม และสร้างพลเมืองที่เข้มแข็งจนได้แนวปฏิบัติที่ดีสามารถพัฒนาวิชาการและวิชาชีพตามอัตลักษณ์ของนักศึกษาคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
- คณะมีแนวทางในการดำเนินงานหารายได้ที่เป็นรูปธรรม
- คณะสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ในการพัฒนาท้องถิ่นจนเกิดวิสาหกิจชุมชนใหม่ (วิสาหกิจชุมชนไร่กร่าง)
- บุคลากรมีความเชี่ยวชาญในสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถถ่ายทอดความรู้ด้านวิชาการและวิชาชีพตามจุดเน้นของหลักสูตร และพัฒนาหลักสูตรที่ทันสมัยตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ตอบสนองบัณฑิตมีงานทำร้อยละ 100
แนวทางการเสริมจุดแข็ง
- ควรพัฒนาโครงการ/กิจกรรมของนักศึกษาให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของคณะ
- ควรขยายแนวทางการพัฒนาบริการวิชาการ โดยใช้วิสาหกิจผู้ประกอบการใหม่เป็นต้นแบบ
- ควรพัฒนาทางด้านภาษาอังกฤษ และการนำความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพ เนื่องจากการปฏิบัตงานมีความหลากหลาย
- ควรพัฒนาด้านมนุษยสัมพันธ์ และการสื่อสาร การเตรียมความพร้อมบุคลิกภาพก่อนการทำงาน เพื่อการเข้าสังคมในการประกอบอาชีพ
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564