รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564 

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564

ตารางวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานอุดมศึกษา

มาตรฐานคุณภาพ

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

ผลการประเมิน

I

P

O

รวม

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 -

5.00

4.51

4.71

ดีมาก

มาตรฐานที่ 2 การวิจัย ฯ

4.08

5.00

5.00

4.82

ดีมาก

มาตรฐานที่ 3 การบริการวิชาการ

 -

5.00

5.00

5.00

ดีมาก

มาตรฐานที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

 -

5.00

5.00

5.00

ดี

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ

3.19

5.00

3.6

4.20

ดี

คะแนนเฉลี่ยทุกมาตรฐาน

3.64

5.00

4.71

4.71

ดีมาก

ผลการประเมิน

ดี

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

 

 

 ตารางผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

มาตรฐาน

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

บรรลุเป้าหมาย

คะแนนการประเมิน

ของคณะกรรมการ

ตัวตั้ง

ผลลัพธ์

P= บรรลุ

ตัวหาร

(%หรือสัดส่วน)

O= ไม่บรรลุ

 

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 

 

 

1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรที่มีพัฒนาการดีขึ้น

70

%

1

100.00

P

5.00

1

1.2 ความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพบัณฑิต

95

%

140

140.00

P

5.00

100

1.3 สมรรถนะด้านทักษะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา

4.50

 คะแนน

381

3.53

O

3.53

108

1.4 ระบบและกลไกการบริหารจัดการด้านผลลัพธ์ผู้เรียน

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

1.5 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาตรี

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 1

4.71

มาตรฐานที่ 2 การวิจัย ฯ

 

 

 

 

 

 

2.1 เงินสนับสนุนงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมจากภายนอก

3.75

คะแนน

1,265,624

40,826.58

P

4.08

31

2.2 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์

 18

%

8

25.81

P

5.00

31

2.3 ผลงานที่อยู่ระหว่างการคุ้มครองสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญาของอาจารย์ประจำคณะ

3.50

คะแนน

2

6.45

P

5.00

31

2.4 จำนวนการอ้างอิงบทความของอาจารย์ประจำคณะในฐานข้อมูลของ TCI หรือ SCOPUS หรือฐานข้อมูลที่ กพอ.กำหนดต่อจำนวนอาจารย์ประจำคณะ

3.75

คะแนน

95

3.06

P

5.00

31

2.5 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรม

4

ข้อ

1,2,3,4,5

5

P

 5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 2

4.82

มาตรฐานที่ 3 การบริการวิชาการ

 

 

 

 

 

3.1 รายได้จากการบริการวิชาการ

3.75

คะแนน

967,500

    31,209.68

P

5.00

31

3.2  จำนวนผลิตภัณฑ์หรือองค์ความรู้ที่มีส่วนร่วมกับชุมชน

4.50

คะแนน

10

333.33

P

5.00

3

3.3 การพัฒนาท้องถิ่น

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 3

5.00

มาตรฐานที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย 

 

 

 

4.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้หรือองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม และความเป็นไทย

4.5

คะแนน

11

35.48

P

5.00

31

4.2 ระบบและกลไกศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

5

ข้อ

1,2,3,4,5,6,7

7

P

5.00

 เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 4

5.00

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ 

 

 

 

5.1 การบริหารของคณะ

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6,7

7

P

5.00

5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

5.3 ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของคณบดี

3.51

คะแนน

 

3.6

P

3.6

5.4 ผลการบริหารคณาจารย์

 4.50

คะแนน

รวม 5.4.1ถึง 5.4.3

3.19

O

3.19

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 5

4.20

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกมาตรฐาน

4.71

 

จุดแข็ง และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการต่อไป

จุดแข็ง

  1. คณะมีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาบัณฑิต ศิษย์เก่า ให้มีทักษะสมัยใหม่ให้กับบัญฑิตได้ทุกสาขาวิชา
  2. คณะมีการวิเคราะห์ โครงการและกิจกรรมให้สอดคล้องกับเป้าหมายผลลัพธ์ผู้เรียนและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาทำให้เห็นผลลัพธ์จากการดำเนินงานที่ชัดเจน
  3. คณะมีการวิเคราะห์กิจกรรมที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนงาน มีการติดตาม ประเมินผลกิจกรรมและประเมินความสำเร็จของแผน ได้อย่างเป็นระบบ
  4. อาจารย์และนักศึกษามีผลงานวิจัยที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์เชิงประจักษ์ และมีจำนวนการอ้างอิงของบทความเป็นจำนวนมาก รวมทั้งมีการอ้างอิงมากกว่า 1 ครั้งขึ้นไป
  5. มีการบูรณาการรายวิชาการโดยการนำนักศึกษาให้เข้าร่วมในการบริการวิชาการ
  6. กระบวนการจัดทำแผนที่เชื่อมโยงกับแผนยุทธ์ศาสตร์ของมหาวิทยาลัยครอบคลุมพันธกิจของคณะครอบคลุมทุกพันธกิจและตามบริบทของคณะ
  7. มีแนวปฏิบัติที่ดีจากการวิเคราะห์และนำไปสู่การปฏิบัติที่เกิดจากความเชี่ยวชาญของบุคลากรในคณะและได้รับรางวัลจากการประกวดในงาน Simulation-Based Learning Award ต่อเนื่องจากปีการศึกษาที่ผ่านมา
  8. เป็นคณะที่รวมศาสตร์ด้านการพยาบาล การดูแลรักษา และศาสตร์ด้านภูมิปัญญาไทย รวมถึงความสามารถของบุคลากรทั้งสามศาสตร์ เพื่อขับเคลื่อนพันธกิจของคณะไปสู่เป้าหมายได้อย่างลงตัว
  9. การวางแผนในระดับผู้บริหารเกี่ยวกับการประกันคุณภาพระดับหลักสูตรแบบอิงผลลัพธ์การเรียนรู้ส่งผลให้ผลการดำเนินงานในประเด็นการจัดทำแผนเพื่อขับเคลื่อนสมรรถนะเฉพาะด้านที่ตรงกับวิชาชีพได้อย่างลงตัว

ข้อเสนอแนะ

  1. คณะควรเสริมกิจกรรมการเป็นผู้ประกอบการ ในกิจกรรมพัฒนานักศึกษาเพื่อให้เกิดทักษะผู้ประกอบการและสามารถประยุกต์ใช้ทักษะดังกล่าวได้ในอนาคต
  2. คณะมีการสนับสนุนให้คณาจารย์และนักศึกษาทำงานวิจัย ตีพิมพ์เผยแพร่ และนำเสนผลงานวิจัยในที่ประชุมในระดับชาติ ตลอดจนมีการพัฒนาเครือข่ายทางการวิจัยทั้งภายในมหาวิทยาลัยและภายนอกมหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุนให้คณาจารย์และนักศึกษามีการพัฒนาศักยภาพในการวิจัยและมีผลงานวิจัยเพิ่มมากขึ้น และเห็นควรมีการสนับสนุนการทำโครงการเพื่อพัฒนาสมรรถนะในการทำวิจัยและการเผยแพร่ผลงานในระดับนานาชาติ
  3. ควรนำองค์ความรู้ไปเผยแพร่เป็นบทความสู่สาธารณชนเพื่อให้เกิดแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)ควรประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ที่นักศึกษาได้เข้าร่วมบริการวิชาการทุกกิจกรรม
  4. คณะควรทบทวนรูปแบบหรือวิธีการนำเสนอผลงานที่โดดเด่นหรือให้สามารถการเข้าถึงองค์ความรู้/ผลงานวิจัยของคณะให้ง่ายขึ้น
  5. พิจารณาบูรณาการแผนทั้ง 16 แผน โดยวิเคราะห์แผนที่มีตัวบ่งชี้ที่สอดคล้องกัน เพื่อค้นหาการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีที่สุด
  6. การกำหนดผู้มีส่วนได้ส่วนเสียควรกำหนดให้ครอบคลุมเพื่อแสวงหาความต้องการที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่การจัดทำแผน เช่น แผนบริหารความเสี่ยง เพื่อกำหนดกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงให้ตรงกับประเด็นที่เกิดจากกระบวนการค้นหาความเสี่ยงที่แท้จริง เป็นต้น

        7.การวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วย ควรวิเคราะห์ผลย้อนหลัง 3 ปี เพื่อดูแนวโน้ม และกำหนดตัวแปรการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยเพิ่มเติมจากระดับมหาวิทยาลัย และนำไปสังเคราะห์หาแนวทางปฏิบัติที่ดีทดแทนต้นทุนต่อหน่วยที่อาจไม่เป็นไปในทิศทางที่คุ้มค่า คุ้มทุน และอาจนำไปทำนายผลการดำเนินงานในอนาคตเพื่อการวางแผนที่ดี

ทั้งนี้ โดยผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 9/2565 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2565 ณ ห้องประชุมเอกศักดิ์บุตรลับ อาคารสุเมธตันติเวชกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564