รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564
ตารางวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานอุดมศึกษา |
|||||
มาตรฐานคุณภาพ |
คะแนนการประเมินเฉลี่ย |
ผลการประเมิน |
|||
I |
P |
O |
รวม |
||
มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน |
- |
5.00 |
4.49 |
4.69 |
ดีมาก |
มาตรฐานที่ 2 การวิจัย ฯ |
5.00 |
5.00 |
4.28 |
4.57 |
ดีมาก |
มาตรฐานที่ 3 การบริการวิชาการ |
- |
5.00 |
5.00 |
5.00 |
ดีมาก |
มาตรฐานที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย |
- |
4.00 |
5.00 |
4.50 |
ดี |
มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ |
4.53 |
5.00 |
4.21 |
4.69 |
ดีมาก |
คะแนนเฉลี่ยทุกมาตรฐาน |
4.77 |
4.86 |
4.55 |
4.69 |
ดีมาก |
ผลการประเมิน |
ดีมาก |
ดีมาก |
ดีมาก |
ดีมาก |
|
ตารางผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
มาตรฐานคุณภาพ |
เป้าหมาย |
ผลการดำเนินงาน |
บรรลุเป้าหมาย |
คะแนนการประเมิน |
|
|||
ตัวตั้ง |
ผลลัพธ์ |
P= บรรลุ |
ของคณะกรรมการ |
|
||||
ตัวหาร |
(%หรือสัดส่วน) |
û= ไม่บรรลุ |
|
|
||||
มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน |
|
|
|
|||||
1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรที่มีพัฒนาการดีขึ้น |
70 |
% |
5 |
100.00 |
P |
5.00 |
|
|
5 |
|
|||||||
1.2 ความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพบัณฑิต |
95 |
% |
198 |
198.00 |
P |
5.00 |
|
|
100 |
|
|||||||
1.3 สมรรถนะด้านทักษะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา |
4.50 |
|
356 |
3.46 |
O |
3.46 |
|
|
103 |
|
|||||||
1.4 ระบบและกลไกการบริหารจัดการด้านผลลัพธ์ผู้เรียน |
6 |
ข้อ |
1,2,3,4,5,6 |
4 |
P |
5.00 |
|
|
1.5 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาตรี |
6 |
ข้อ |
1,2,3 |
3 |
P |
5.00 |
|
|
เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 1 |
4.69 |
|||||||
องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย |
|
|
|
|
|
|
|
|
2.1 เงินสนับสนุนงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมจากภายนอก |
3.75 |
คะแนน |
3,615,162 |
82,162.76 |
P |
5.00 |
|
|
44 |
|
|||||||
2.2 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ |
18 |
% |
10 |
22.73 |
P |
5.00 |
|
|
44 |
|
|||||||
2.3 ผลงานที่อยู่ระหว่างการคุ้มครองสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญาของอาจารย์ประจำคณะ |
3.50 |
คะแนน |
1 |
2.27 |
O |
2.84 |
|
|
44 |
|
|||||||
2.4 จำนวนการอ้างอิงบทความของอาจารย์ประจำคณะในฐานข้อมูลของ TCI หรือ SCOPUS หรือฐานข้อมูลที่ กพอ.กำหนด ต่อจำนวนอาจารย์ประจำคณะ |
3.75 |
คะแนน |
126 |
2.86 |
P |
5.00 |
|
|
44 |
|
|||||||
2.5 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรม |
4 |
ข้อ |
1,2,3,4,5 |
5 |
P |
5.00 |
|
|
เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 2 |
4.57 |
|||||||
มาตรฐานที่ 3 การบริการวิชาการ |
|
|
|
|
||||
3.1 รายได้จากการบริการวิชาการ |
3.75 |
คะแนน |
1,938,788 |
44,063.36 |
P |
5.00 |
|
|
44 |
|
|||||||
3.2 จำนวนผลิตภัณฑ์หรือองค์ความรู้ที่มีส่วนร่วมกับชุมชน |
4.50 |
คะแนน |
43 |
430.00 |
P |
5.00 |
|
|
10 |
|
|||||||
3.3 การพัฒนาท้องถิ่น |
6 |
ข้อ |
1,2,3,4,5,6 |
6 |
P |
5.00 |
|
|
เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 3 |
5.00 |
|||||||
มาตรฐานที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย |
|
|
|
|
||||
4.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้หรือองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม และความเป็นไทย |
4.5 |
คะแนน |
4 |
9.09 |
P |
5.00 |
|
|
44 |
|
|||||||
4.2 ระบบและกลไกศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย |
5 |
ข้อ |
1,2,3,4,5,6 |
5 |
P |
4.00 |
|
|
เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 4 |
4.50 |
|||||||
มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ |
|
|
|
|
|
|
|
|
5.1 การบริหารของคณะ |
6 |
ข้อ |
1,2,3,4,5,6,7 |
7 |
P |
5.00 |
|
|
5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร |
6 |
ข้อ |
1,2,3,4,5,6 |
6 |
P |
5.00 |
|
|
5.3 ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของคณบดี |
3.51 |
คะแนน |
|
4.21 |
P |
4.21 |
|
|
5.4 ผลการบริหารคณาจารย์ |
4.50 |
คะแนน |
รวม 5.4.1ถึง 5.4.3 |
4.53 |
P |
4.53 |
|
|
เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 5 |
4.69 |
|||||||
เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกมาตรฐาน |
4.69 |
จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการต่อไป
จุดแข็ง
- คณะมีระบบกำกับติดตามและการประเมินผลการพัฒนานักศึกษาและบัณฑิตที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้การดำเนินการด้านการผลิตบัณฑิตมีความโดดเด่น
- คณะมีระบบกลไกในการส่งเสริม กำกับและติดตามการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ทุนสนับสนุนการวิจัย รวมถึงผลงานทางวิชาการ นวัตกรรมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
- คณะมีการกำหนดเป้าหมายชุมชนในการให้บริการวิชาการอย่างชัดเจนและต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดผลิตภัณฑ์และองค์ความรู้รวมถึงรายได้จากการบริการวิชาการอย่างเป็นรูปธรรม
- คณะมีจำนวนแหล่งการเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมที่หลากหลาย ส่งผลให้เกิดการพัฒนาด้านศิลปวัฒนธรรมที่โดดเด่น
- คณะมีรูปแบบการบริหารจัดการรวมถึงระบบการกำกับการประกันคุณภาพที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้การดำเนินงานในมิติต่าง ๆ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ได้อย่างดี
ข้อเสนอแนะ
- คณะควรวิเคราะห์ สังเคราะห์ การเพิ่มทักษะการเป็นผู้ประกอบการให้กับนักศึกษา และบัณฑิตเพื่อเพิ่มความเข้มแข็งในการพัฒนาด้านวิชาชีพต่อไป
- คณะควรเร่งกระบวนการในการส่งเสริมและคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการสร้างผลงานและนวัตกรรมที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
- คณะควรแสดงผลการดำเนินงาน โดยเฉพาะการบูรณาการการบริการวิชาการเข้ากับการเรียนการสอนให้ครบถ้วน เพื่อเพิ่มผลลัพธ์การเรียนรู้และศักยภาพของผู้เรียน
- คณะควรมีการวิเคราะห์ เพื่อสร้างองค์ความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ ในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันหรือการพัฒนาต่อยอดในเชิงพาณิชย์ และสามารถนำไปสู่การได้รับรางวัลเชิดชูได้
- คณะควรเร่งกำกับติดตามแผนการพัฒนาบุคลากรตามที่วางไว้ เช่น การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ประจำคณะ
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564