รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2563

 

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2563

ตารางวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานอุดมศึกษา

มาตรฐาน

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

ผลการประเมิน

I

P

O

รวม

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

4.50

4.45

4.47

ดี

มาตรฐานที่ 2 การวิจัย ฯ

5.00

5.00

5.00

5.00

ดีมาก

มาตรฐานที่ 3 การบริการวิชาการ

 -

5.00

5.00

5.00

ดีมาก

มาตรฐานที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

 -

5.00

5.00

5.00

ดีมาก

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ

3.98

5.00

3.69

4.42

ดี

คะแนนเฉลี่ยทุกองค์ประกอบ

4.49

4.86

4.71

4.74

ดีมาก

ผลการประเมิน

ดี

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

 

 

 

ตารางผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

องค์ประกอบคุณภาพ

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

บรรลุเป้าหมาย

คะแนนการประเมินของคณะกรรมการ

ตัวตั้ง

ผลลัพธ์

P= บรรลุ

ตัวหาร

(%หรือสัดส่วน)

O= ไม่บรรลุ

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน  

1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรที่มีพัฒนาการดีขึ้น

60

%

4

80.00

P

5.00

5

1.2 ความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพบัณฑิต

70

%

84

84.00

P

4.20

100

1.3 สมรรถนะด้านทักษะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา

3.51

 คะแนน

899

4.16

P

4.16

216

1.4 ระบบและกลไกการบริหารจัดการด้านผลลัพธ์ผู้เรียน

4

ข้อ

1,2,3,4,5

5

P

4.00

1.5 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาตรี

5

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 1

4.47

มาตรฐานที่ 2 ผลลัพธ์การวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม

 

2.1 เงินสนับสนุนงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมจากภายนอก

3.51

คะแนน

5,753,476

159,818.78

P

5.00

36

2.2 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์

12

%

10

27.78

P

5.00

36

2.3 ผลงานที่อยู่ระหว่างการคุ้มครองสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญาของอาจารย์ประจำคณะ

3.51

คะแนน

3

8.33

P

5.00

36

2.4 จำนวนการอ้างอิงบทความของอาจารย์ประจำคณะในฐานข้อมูลของ TCI หรือ SCOPUS หรือฐานข้อมูลที่ กพอ.กำหนด ต่อจำนวนอาจารย์ประจำคณะ

3.51

คะแนน

26

0.72

P

5.00

36

2.5 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรม

4

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

 5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 2

5.00

มาตรฐานที่ 3 ผลลัพธ์ด้านการบริการวิชาการ

 

3.1 รายได้จากการบริการวิชาการ

3.51

คะแนน

1,110,000

  30,833.33

P

5.00

36

3.2  จำนวนผลิตภัณฑ์หรือองค์ความรู้ที่มีส่วนร่วมกับชุมชน

3.51

คะแนน

20

500.00

P

5.00

4

3.3 การพัฒนาท้องถิ่น

4

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 3

5.00

มาตรฐานที่ 4 ผลลัพธ์ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

 

4.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้หรือองค์ความรู้ด้านศิลป วัฒนธรรมและความเป็นไทย

3.51

คะแนน

8

22.22

P

5.00

36

4.2 ระบบและกลไกศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

5

ข้อ

1,2,3,4,5,6,7

7

P

5.00

 เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 4

5.00

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ

 

5.1 การบริหารของคณะ

5

ข้อ

1,2,3,4,5,6,7

7

P

5.00

5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

5

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

5.3 ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของคณบดี

3.51

 คะแนน

 

4.25

P

3.69

5.4 ผลการบริหารอาจารย์

3.51

 คะแนน

รวม 5.4.1 ถึง 5.4.3

4.2

P

3.98

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 5

4.42

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกมาตรฐาน

4.74

 

  • จุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการต่อไป

 จุดแข็ง

  1. คณะมีระบบกลไกการพัฒนานักศึกษาให้เป็นไปตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์อย่างต่อเนื่อง
  2. คณะมีระบบกลไก รวมทั้งการส่งเสริมการสร้างงานวิจัยที่มีประสิทธิภาพ และมีคุณภาพรวมถึงเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ
  3. หน่วยงานได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากหน่วยงานภายนอกและผลงานวิจัย สะท้อนให้เห็นถึงระบบการบริหารงานวิจัยที่ดี
  4. คณะมีศักยภาพในการหารายได้จากการบริการวิชาการอย่างต่อเนื่อง รวมถึงมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กับชุมชน เป็นการยกระดับชุมชนให้เข้มแข็ง
  5. คณะสามารถพัฒนาองค์ความรู้ รวมถึงพัฒนาผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยให้กับท้องถิ่น และสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนได้อย่างชัดเจน ทั้งในรูปของผลิตภัณฑ์และแผนทางธุรกิจ
  6. คณะมีการดำเนินการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ครอบคลุมทุกพันธกิจ ส่งผลให้สามารถดำเนินงานและพัฒนากลยุทธ์เป็นไปตามเป้าหมายที่สะท้อนอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของคณะได้อย่างชัดเจน
  7. คณะมีการนำการประกันคุณภาพมาช่วยในการบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล

ข้อเสนอแนะ

  1. ควรนำหลักสูตร/การอบรมระยะสั้นที่มีเนื้อหาที่ทันสมัยเพื่อเป็นแนวทางให้กับนักศึกษา/บัณฑิตไปสร้างเสริมอาชีพใหม่ต่อไป เช่น การอบรมโปรแกรมที่ทันสมัยให้กับนักศึกษา/บัณฑิต
  2. คณะควรส่งเสริมให้เกิดการกระจายผลงานวิจัยรวมถึงทุนสนับสนุนงานวิจัยให้มากขึ้นในวงกว้าง โดยให้อาจารย์ที่ศักยภาพเป็นพี่เลี้ยง เพื่อเพิ่มศักยภาพและแนวทางการพัฒนาของอาจารย์ในคณะ
  3. ควรมีการวิเคราะห์ผลกระทบจากการบริการวิชาการ รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ร่วมกับชุมชนเพื่อก่อให้เกิดองค์ความรู้ และนำไปสู่การสร้างแนวปฏิบัติที่ดีให้กับหน่วยงานอื่นๆได้ เพื่อยกระดับให้คณะเป็นองค์กรที่สำคัญในการบริการวิชาการให้กับท้องถิ่นของจังหวัดเพชรบุรี
  4. สามารถพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒธรรมของท้องถิ่นในรูปแบบอื่นๆเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับแนวคิดด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยของท้องถิ่น เช่น การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมให้กับชุมชน
  5. ควรมีการนำผลการประเมินมาช่วยวางแผนและออกแบบกิจกรรม รวมถึงตัวบ่งชี้ในรอบการดำเนินงานถัดไป เพื่อให้การดำเนินงานสะท้อนความเข้มแข็งของคณะได้อย่างชัดเจน
  6. ควรมีการกำกับติดตามผลการประเมินของหลักสูตรในระดับองค์ประกอบหรือตัวชี้วัดที่มีค่าคะแนนน้อย เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งของหลักสูตรที่ยั่งยืน

 

ทั้งนี้ โดยผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 11/2564 เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2564 ณ ห้องประชุมราชภัฏสภา  ชั้น 9 อาคารวิทยาภิรมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

 

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2563
ระดับคณะและหน่วยงานสนับสนุนวิชาการ

Download : รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2563 ระดับคณะและหน่วยงานสนับสนุนวิชาการ