รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2563 

 

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2563 

ตารางวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานคุณภาพ

องค์ประกอบคุณภาพ

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

ผลการประเมิน

I

P

O

รวม

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 -

3.50

2.49

2.89

พอใช้

มาตรฐานที่ 2 การวิจัย ฯ

5.00

5.00

3.20

3.92

ดี

มาตรฐานที่ 3 การบริการวิชาการ

 -

3.00

2.50

2.67

พอใช้

มาตรฐานที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

 -

3.00

5.00

3.00

พอใช้

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ

3.93

3.00

4.34

3.57

ดี

คะแนนเฉลี่ยทุกมาตรฐาน

4.34

3.43

3.14

3.39

พอใช้

ผลการประเมิน

ดี

พอใช้

พอใช้

พอใช้

 

 

 

ตารางผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

มาตรฐานคุณภาพ

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

บรรลุเป้าหมาย

คะแนนการประเมินของคณะกรรมการ

ตัวตั้ง

ผลลัพธ์

P= บรรลุ

ตัวหาร

(%หรือสัดส่วน)

O= ไม่บรรลุ

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 

 

 

1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรที่มีพัฒนาการดีขึ้น

60

%

5

62.50

P

3.91

8

1.2 ความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพบัณฑิต

70

%

0

0.00

O

0.00

100

1.3 สมรรถนะด้านทักษะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา

3.51

  คะแนน

415

3.58

P

3.58

116

1.4 ระบบและกลไกการบริหารจัดการด้านผลลัพธ์ผู้เรียน

4

ข้อ

1,3,5,6

4

O

4.00

1.5 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาตรี

5

ข้อ

1,2,3

3

P

3.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 1

2.90

มาตรฐานที่ 2 การวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม

 

 

2.1 เงินสนับสนุนงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมจากภายนอก

3.51

คะแนน

4,563,849

93,139.78

P

5.00

49

2.2 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์

 12

%

4

8.16

P

2.04

49

2.3 ผลงานที่อยู่ระหว่างการคุ้มครองสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญาของอาจารย์ประจำคณะ

3.51

คะแนน

1

2.04

O

2.55

49

2.4 จำนวนการอ้างอิงบทความของอาจารย์ประจำคณะในฐานข้อมูลของ TCI หรือ SCOPUS หรือฐานข้อมูลที่ กพอ.กำหนด ต่อจำนวนอาจารย์ประจำคณะ

3.51

คะแนน

131

2.67

P

5.00

49

2.5 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรม

4

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

 5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 2

3.92

มาตรฐานที่ 3 การบริการวิชาการ

 

 

3.1 รายได้จากการบริการวิชาการ

3.51

คะแนน

0

0  

O

0.00

49

3.2  จำนวนผลิตภัณฑ์หรือองค์ความรู้ที่มีส่วนร่วมกับชุมชน

3.51

คะแนน

6

120

P

5.00

5

3.3 การพัฒนาท้องถิ่น

4

ข้อ

1,2,3

3

P

3.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 3

2.67

มาตรฐานที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

 

 

4.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้หรือองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม และความเป็นไทย

3.51

คะแนน 

4

8.16

P

5.00

49

4.2 ระบบและกลไกศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

5

ข้อ

1,2,3,6

4

P

3.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 4

4.00

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ

 

 

5.1 การบริหารของคณะ

5

ข้อ

1,4,6,7

4

P

3.00

5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

5

ข้อ

1,2,3,6

4

O

3.00

5.3 ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของคณบดี

3.51

 คะแนน

 

4.34

P

4.3๔

5.4 ผลการบริหารคณาจารย์

3.51

 คะแนน

รวม 5.4.1ถึง 5.4.3

3.93

P

3.93

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 5

3.57

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกมาตรฐาน

3.39

 

จุดแข็ง และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการต่อไป

        จุดแข็ง

  1. คณะมีจำนวนผลงานทางวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่และผลงานที่ได้รับการอ้างอิงจำนวนมากแสดงให้เห็นถึงศักยภาพที่ได้รับการยอมรับทางวิชาการในวงกว้าง
  2. คณะมีการพัฒนานวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ที่สามารถต่อยอดเพื่อการสร้างรายได้จากการบริการวิชาการจำนวนมาก

        ข้อเสนอแนะ

  1. ควรมีการวางแผนการจัดกิจกรรมหรือหลักสูตรในการพัฒนาศักยภาพบัณฑิตในการพัฒนาอาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการ อาจเป็นรูปแบบหลักสูตรระยะสั้น เพื่อพัฒนาเพื่อยกระดับทักษะเดิม (UpSkill) หรือการสร้างทักษะใหม่ (ReSkill) ที่จำเป็นในการทำงาน
  2. คณะควรมีกระบวนการประเมินและแสดงผลความสำเร็จ รวมทั้งระบุประเด็นการปรับปรุง และนำผลการประเมินไปปรับปรุงในครั้งต่อไปโดยผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการประจำคณะ ในประเด็นตามตัวบ่งชี้แผนต่าง ๆ ทุกระดับ เช่น ต้นทุนต่อหน่วย การจัดการความเสี่ยง แนวปฏิบัติที่ดี ฯลฯ
  3. คณะควรมีการวางแผนการหารายได้บริการวิชาการ จากผลงานนวัตกรรม และวิจัยที่มีจำนวนมาก
  4. คณะได้รับเงินสนับสนุนงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมจากภายนอก และมีงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์สูงกว่าเป้าหมาย ควรมีการส่งเสริมการนำผลงานเข้ารับการคุ้มครองสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญา

 

ทั้งนี้ โดยผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 11/2564 เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2564 ณ ห้องประชุมราชภัฏสภา  ชั้น 9 อาคารวิทยาภิรมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

 

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2563
ระดับคณะและหน่วยงานสนับสนุนวิชาการ

Download : รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2563 ระดับคณะและหน่วยงานสนับสนุนวิชาการ