รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2563 

 

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2563

ตารางวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานอุดมศึกษา

องค์ประกอบคุณภาพ

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

ผลการประเมิน

I

P

O

รวม

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 -

5.00

4.50

4.70

ดีมาก

มาตรฐานที่ 2 การวิจัย ฯ

4.39

5.00

3.58

4.03

ดี

มาตรฐานที่ 3 การบริการวิชาการ

 -

5.00

3.73

4.15

ดี

มาตรฐานที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

 -

5.00

5.00

5.00

ดีมาก

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ

3.13

5.00

3.79

4.23

ดี

คะแนนเฉลี่ยทุกมาตรฐาน

3.76

5.00

4.05

4.37

ดี

ผลการประเมิน

ดี

ดีมาก

ดี

ดี

 

 

ตารางผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

มาตรฐาน

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

บรรลุเป้าหมาย

คะแนนการประเมินของคณะกรรมการ

ตัวตั้ง

ผลลัพธ์

P= บรรลุ

ตัวหาร

(%หรือสัดส่วน)

O= ไม่บรรลุ

 

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 

 

 

1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรที่มีพัฒนาการดีขึ้น

60

%

3

100.00

P

5.00

3

1.2 ความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพบัณฑิต

85

%

181

181.00

P

5.00

100

1.3 สมรรถนะด้านทักษะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา

3.75

 คะแนน

460

3.51

O

3.51

131

1.4 ระบบและกลไกการบริหารจัดการด้านผลลัพธ์ผู้เรียน

4

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

1.5 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาตรี

5

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 1

4.70

มาตรฐานที่ 2 ผลลัพธ์การวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม

 

 

 

2.1 เงินสนับสนุนงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมจากภายนอก

3.51

คะแนน

1,184,148

43,857.33

P

4.39

27

2.2 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์

13

%

13

44.83

P

5.00

29

2.3 ผลงานที่อยู่ระหว่างการคุ้มครองสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญาของอาจารย์ประจำคณะ

3.51

คะแนน 

1

3.45

P

4.31

29

2.4 จำนวนการอ้างอิงบทความของอาจารย์ประจำคณะในฐานข้อมูลของ TCI หรือ SCOPUS หรือฐานข้อมูลที่ กพอ.กำหนดต่อจำนวนอาจารย์ประจำคณะ

3.51

คะแนน 

25

0.86

O

1.44

29

2.5 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรม

4

ข้อ

1,2,3,4,5

5

P

5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 2

4.03

มาตรฐานที่ 3 การบริการวิชาการ

 

 

 

3.1 รายได้จากการบริการวิชาการ

3.51

คะแนน

331,665

12,283.89

O

2.46

27

3.2  จำนวนผลิตภัณฑ์หรือองค์ความรู้ที่มีส่วนร่วมกับชุมชน

3.75

คะแนน

10

333.33

P

5.00

3

3.3 การพัฒนาท้องถิ่น

4

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 3

4.15

มาตรฐานที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย 

 

 

 

4.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้หรือองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม และความเป็นไทย

3.75

คะแนน 

11

40.74

P

5.00

27

4.2 ระบบและกลไกศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

5

ข้อ

1,2,3,4,5,6,7

7

P

5.00

 เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 4

5.00

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ 

 

 

 

5.1 การบริหารของคณะ

5

ข้อ

1,2,3,4,5,6,7

7

P

5.00

5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

5

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

5.3 ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของคณบดี

3.51

 คะแนน

 

3.79

P

3.79

5.4 ผลการบริหารคณาจารย์

3.51

 คะแนน

รวม 5.4.1ถึง 5.4.3

3.13

O

3.13

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 5

4.23

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกมาตรฐาน

4.37

 

จุดแข็ง และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการต่อไป

จุดแข็ง

  1. การพัฒนาระบบคุณภาพระดับหลักสูตร มีการใช้เกณฑ์ AUN-QA มาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ ทำให้มีแนวโน้มของผลการบริหารหลักสูตรที่มีพัฒนาการที่ดีขึ้น
  2. อาจารย์ในคณะมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์จำนวนมาก
  3. อาจารย์มีความรู้ความสามารถในการเผยแพร่ผลงานวิชาการในระดับนานาชาติ
  4. คณะมีโครงการบริการวิชาการให้กับชุมชนหลายโครงการ
  5. คณะสามารถนำความเชี่ยวชาญและองค์ความรู้ทั้ง 3 หลักสูตรไปใช้ประโยชน์ในการบริการวิชาการให้กับชุมชน

แนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. ควรมีการนำเกณฑ์ AUN-QA มาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร์และการแพทย์แผนไทยต่อไป
  2. ควรเพิ่มข้อมูลการประเมินและการปรับปรุงหลักสูตรของปีที่ผ่านมาเพื่อแสดงความต่อเนื่องของการปรับปรุงหลักสูตร
  3. ควรมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรในคณะบูรณาการศาสตร์ทั้ง 3 หลักสูตรในการทำวิจัยร่วมกัน
  4. ควรมีการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับอาจารย์ในคณะในการเผยแพร่ผลงานวิชาการในระดับนานาชาติ
  5. ควรทบทวนแผนพัฒนาเชิงพื้นที่ให้เพิ่มวัตถุประสงค์ของแผนให้ครอบคลุมตัวชี้วัดความสำเร็จของแผน
  6. ควรจัดทำแผนพัฒนาเชิงพื้นที่ครอบคลุมการบริการวิชาการแบบให้เปล่าและแบบหารายได้
  7. ควรจัดทำแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยที่สอดคล้องกับจุดเน้นของคณะ
  8. ควรสังเคราะห์ความเชื่อมโยงของแผนยุทธศาสตร์เพื่อทบทวนตัวบ่งชี้ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย
  9. ควรจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่มีการกำหนดปัจจัยภายนอกและภายใน

ข้อเสนอแนะ

  1. ควรมีการจัดทำข้อมูลหลักฐานเพื่อจำแนกศิษย์เก่าและนักศึกษาปัจจุบัน
  2. ควรติดตามการนำไปใช้ประโยชน์ของผู้เข้าร่วมโครงการที่สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ
  3. ควรเพิ่มวัตถุประสงค์ของแผนให้ครอบคลุมการผลิตบัณฑิตทั้ง 3 ด้าน
  4. ควรวางแนวทางความร่วมมือการสร้างเครือข่ายงานวิจัยกับหน่วยงานภายนอก
  5. ควรสนับสนุนให้บุคลากรสายวิชาการในคณะเป็นหัวหน้าโครงการวิจัย
  6. ควรส่งเสริมอาจารย์ให้มีการพัฒนาผลงานเพื่อนำไปยื่นขอจดคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาอย่างต่อเนื่อง
  7. ควรวิเคราะห์แผนพัฒนาบุคลากรสายวิชาการให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน

 

ทั้งนี้ โดยผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 11/2564 เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2564 ณ ห้องประชุมราชภัฏสภา  ชั้น 9 อาคารวิทยาภิรมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

 

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2563
ระดับคณะและหน่วยงานสนับสนุนวิชาการ

Download : รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2563 ระดับคณะและหน่วยงานสนับสนุนวิชาการ