รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564

ตารางวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานอุดมศึกษา

มาตรฐานคุณภาพ

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

ผลการประเมิน

I

P

O

รวม

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 -

5.00

3.84

4.30

ดี

มาตรฐานที่ 2 การวิจัย ฯ

2.55

5.00

3.63

3.69

ดี

มาตรฐานที่ 3 การบริการวิชาการ

 -

5.00

5.00

5.00

ดีมาก

มาตรฐานที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

 -

5.00

5.00

5.00

ดีมาก

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ

4.13

5.00

4.18

4.58

ดีมาก

คะแนนเฉลี่ยทุกมาตรฐาน

4.57

5.00

4.16

4.38

ดี

ผลการประเมิน

ดีมาก

ดีมาก

ดี

ดี

 

 

 ตารางผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

มาตรฐานคุณภาพ

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

บรรลุเป้าหมาย

คะแนนการประเมินของคณะกรรมการ

 

ตัวตั้ง

ผลลัพธ์

P= บรรลุ

ตัวหาร

(%หรือสัดส่วน)

û= ไม่บรรลุ

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 

 

 

1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรที่มีพัฒนาการดีขึ้น

70

%

5

50.00

û

3.13

10

1.2 ความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพบัณฑิต

95

%

100

100.00

P

5.00

100

1.3 สมรรถนะด้านทักษะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา

4.50

 คะแนน

2067

3.40

û

3.40

608

1.4 ระบบและกลไกการบริหารจัดการด้านผลลัพธ์ผู้เรียน

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

1.5 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาตรี

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 1

4.30

มาตรฐานที่ 2 ผลลัพธ์การวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม

 

2.1 เงินสนับสนุนงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมจากภายนอก

3.75

คะแนน

1,383,364

12,749.90

P

2.55

108.5

2.2 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์

 18

%

24

22.12

P

5.00

108.5

2.3 ผลงานที่อยู่ระหว่างการคุ้มครองสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญาของอาจารย์ประจำคณะ

3.50

คะแนน

4

3.69

P

4.61

108.5

2.4 จำนวนการอ้างอิงบทความของอาจารย์ประจำคณะในฐานข้อมูลของ TCI หรือ SCOPUS หรือฐานข้อมูลที่ กพอ.กำหนด ต่อจำนวนอาจารย์ประจำคณะ

3.75

คะแนน

7

0.06

O

1.29

108.5

2.5 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรม

4

ข้อ

1,2,3,4,5

5

P

 5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 2

3.69

มาตรฐานที่ 3 ผลลัพธ์ด้านการบริการวิชาการ

 

3.1 รายได้จากการบริการวิชาการ

3.75

คะแนน

2,886,934

  26,607.69

P

5.00

108.5

3.2  จำนวนผลิตภัณฑ์หรือองค์ความรู้ที่มีส่วนร่วมกับชุมชน

4.50

คะแนน

4

100.00

P

5.00

4

3.3 การพัฒนาท้องถิ่น

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 3

5.00

มาตรฐานที่ 4 ผลลัพธ์ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

 

4.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้หรือองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม และความเป็นไทย

4.50

คะแนน

6

5.53

P

5.00

108.5

4.2 ระบบและกลไกศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6,7

7

P

5.00

 เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 4

5.00

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ

 

5.1 การบริหารของคณะ

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6,7

7

P

5.00

5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

5.3 ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของคณบดี

3.51

คะแนน

 

4.18

P

4.18

5.4 ผลการบริหารอาจารย์

 4.50

คะแนน

44.5

41.01

P

5.00

108.5

 

 4.50

คะแนน

32

29.49

P

2.46

108.5

 

 4.50

คะแนน

32.4

29.86

P

5.00

108.5

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 5

4.58

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกมาตรฐาน

4.38

 

จุดแข็ง ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการต่อไป

จุดแข็ง

  1. คณะมีการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาได้ครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน ในขณะที่คณะมีนักศึกษาหลายสาขาและมีจำนวนมาก
  2. คณะมีการบริการวิชาการสู่ชุมชนอย่างต่อเนื่อง จนเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน
  3. คณะสามารถขับเคลื่อนให้ผลงานด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยได้รับรางวัลในระดับชาติได้

แนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะควรมีการเผยแพร่แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาให้กับหน่วยงานภายนอก
  2. คณะควรมีเพิ่มผลงานของอาจารย์หลากหลายสาขาเพื่อขับเคลื่อนให้ชุมชนเกิดวิสาหกิจชุมชน
  3. คณะควรมีการพัฒนาสนับสนุนให้สาขาอื่นให้ได้ดำเนินการด้านผลงานด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยให้เป็นที่ประจักษ์

ข้อเสนอแนะ

  1. ควรมีการพัฒนาศิษย์เก่าในทุกหลักสูตร
  2. ควรมีการสำรวจความต้องการของศิษย์เก่า เพื่อนำมาวิเคราะห์เพื่อจัดทำหลักสูตรระยะสั้นเพื่อพัฒนาศิษย์เก่า
  3. ควรมีการนำประสบการณ์ ความสำเร็จของสาขาที่มีคะแนนผู้ประกอบการสูงเป็นแนวทางสำหรับพัฒนานักศึกษาในสาขาอื่น
  4. ควรส่งเสริมให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง(ธุรกิจstart up)
  5. ควรมีการส่งเสริมให้นักศึกษาทุกหลักสูตรเข้าร่วมแข่งขันในระดับต่างๆ
  6. ควรมีการให้ทุนสนับสนุนหรือรางวัลให้กับนักศึกษาที่ได้รับรางวัลในระดับชาติหรือนานาชาติครอบคลุมทั้งทักษะด้านวิชาการ ศิลปวัฒนธรรม และด้านอื่นๆ เพื่อเป็นแรงจูงใจให้กับนักศึกษา
  7. ควรมีการขอทุนวิจัยจากหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัยและสร้างเครือข่ายกับแหล่งทุนให้เพิ่มขึ้น
  8. คณะควรมีการประชาสัมพันธ์แหล่งทุนวิจัยให้คณาจารย์ในคณะได้ทราบข้อมูลอย่างทั่วถึงและมีการส่งเสริมให้คณาจารย์มีการขอทุนวิจัยให้เพิ่มมากขึ้น
  9. คณะควรมีกลไกส่งเสริมให้อาจารย์ในสาขาต่างๆนำผลงานเข้าสู่การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา
  10. คณะควรสนับสนุนการทำผลงานทางวิชาการที่เป็น GAP of Knowledge เพื่อได้รับการอ้างอิงโดยปรากฏในฐาน TCI หรือ SCOPUS
  11. คณะควรมีการพัฒนาระบบสารสนเทศจำนวนเงินทุนวิจัย และ ผลงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่
  12. คณะควรมีกระบวนการเร่งรัด (fast track)ให้อาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ

ทั้งนี้ โดยผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 9/2565 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2565 ณ ห้องประชุมเอกศักดิ์บุตรลับ อาคารสุเมธตันติเวชกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564