รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะครุศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564

 

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะครุศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564

ตารางวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานอุดมศึกษา

มาตรฐาน

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

ผลการประเมิน

I

P

O

รวม

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 -

5.00

4.03

4.42

ดี

มาตรฐานที่ 2 ผลลัพธ์การวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม

5.00

5.00

4.71

4.83

ดีมาก

มาตรฐานที่ 3 ผลลัพธ์ด้านการบริการวิชาการ

 -

5.00

5.00

5.00

ดีมาก

มาตรฐานที่ 4 ผลลัพธ์ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย 

 -

5.00

5.00

5.00

ดีมาก

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ 

4.13

5.00

3.96

4.56

ดีมาก

คะแนนเฉลี่ยทุกมาตรฐาน

4.57

5.00

4.52

4.71

ดีมาก

ผลการประเมิน

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

 

 

ตารางผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

มาตรฐานการอุดมศึกษา

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

บรรลุเป้าหมาย

คะแนนการประเมินของคณะกรรมการ

 

ตัวตั้ง

ผลลัพธ์

P= บรรลุ

ตัวหาร

(%หรือสัดส่วน)

û= ไม่บรรลุ

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 

 

 

1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรที่มีพัฒนาการดีขึ้น

70

%

3

60.00

û

3.75

5

1.2 ความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพบัณฑิต

95

%

102

100.00

P

5.00

102

1.3 สมรรถนะด้านทักษะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา

4.50

 คะแนน

253

3.33

û

3.33

76

1.4 ระบบและกลไกการบริหารจัดการด้านผลลัพธ์ผู้เรียน

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

1.5 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาตรี

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 1

4.42

มาตรฐานที่ 2 ผลลัพธ์การวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม

 

2.1 เงินสนับสนุนงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมจากภายนอก

3.75

คะแนน

911,902

  31,444.88

P

5.00

29

2.2 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์

 18

%

9

31.03

P

5.00

29

2.3 ผลงานที่อยู่ระหว่างการคุ้มครองสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญาของอาจารย์ประจำคณะ

3.50

คะแนน

9

31.03

P

5.00

29

2.4 จำนวนการอ้างอิงบทความของอาจารย์ประจำคณะในฐานข้อมูลของ TCIหรือ SCOPUS หรือฐานข้อมูลที่ กพอ.กำหนด ต่อจำนวนอาจารย์ประจำคณะ

3.75

คะแนน

6

0.21

P

4.14

29

2.5 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรม

4

ข้อ

1,2,3,4,5

5

P

 5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 2

4.83

มาตรฐานที่ 3 ผลลัพธ์ด้านการบริการวิชาการ

 

3.1 รายได้จากการบริการวิชาการ

3.75

คะแนน

879,000

  30,310.34

P

5.00

29

3.2  จำนวนผลิตภัณฑ์หรือองค์ความรู้ที่มีส่วนร่วมกับชุมชน

4.50

คะแนน

10

125.00

P

5.00

8

3.3 การพัฒนาท้องถิ่น

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 3

5.00

มาตรฐานที่ 4 ผลลัพธ์ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

 

4.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้หรือองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม และความเป็นไทย

4.5

คะแนน

3

10.34

P

5.00

29

4.2 ระบบและกลไกศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

5

ข้อ

1,2,3,4,5,6,7

7

P

5.00

 เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 4

5.00

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ

 

5.1 การบริหารของคณะ

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6,7

7

P

5.00

5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

5.3 ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของคณบดี

3.51

คะแนน

 

3.96

P

3.96

5.4.1 อาจารย์ประจำคณะที่มี คุณวุฒิปริญญาเอก

4.50

คะแนน

14.5

50.00

P

5.00

29

5.4.2 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ

4.50

คะแนน

10

34.48

O

2.87

29

5.4.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำ

4.50

คะแนน

13.8

47.59

P

5.00

29

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 5

4.56

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกมาตรฐาน

4.71

 

จุดแข็ง ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการต่อไป

จุดแข็ง

          1.ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ มีประสบการณ์ มีความสามารถที่จะพัฒนาคณะให้โดดเด่นทั้งด้านวิชาชีพครู การวิจัย และการบริการวิชาการแก่สังคม

          2.มีงานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกในระดับมากอย่างต่อเนื่อง มีนักวิจัยที่มีความสามารถในระดับชาติ

          3.จำนวนเงินรายได้จาการบริการวิชาการ/โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษากับหน่วยงานภายนอกอยู่ในระดับสูง

ข้อเสนอแนะ

          1.มีการกำกับติดตามคุณภาพหลักสูตรที่มีคุณภาพลดลงวิเคราะห์สาเหตุและแก้ปัญหาเพื่อให้คุณภาพของหลักสูตรเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

          2.ควรส่งเสริมให้บุคลากรจากหลักสูตรต่างๆของคณะมีการทำงานวิจัย ได้รับทุนวิจัยเพิ่มขึ้น

          3.ควรส่งเสริมให้บุคลากรและนักศึกษามีการใช้ทรัพยากรของมหาวิทยาลัยที่สนับสนุนส่งเสริมการวิจัย ได้แก่ บุคลากร ห้องสมุด ฐานข้อมูลเกี่ยวกับงานวิจัย ห้องปฏิบัติการ เป็นต้น

          4.ค่าเป้าหมายเพื่อการประเมินผลกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษาไม่ควรต่ำกว่าร้อยละ 80 เมื่อประเมินแล้วไม่ได้ก็ควรวิเคราะห์สาเหตุและหาแนวทางแก้ไขต่อไป

          5. เพิ่มรายวิชาในหลักสูตรของคณะเพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับการพัฒนาท้องถิ่น

          6. เพิ่มจำนวนองค์ความรู้ที่มีส่วนร่วมกับชุมชน ที่ตรงกับศาสตร์วิชาชีพครูหรือขยายผลไปยังโรงเรียนในเครือข่าย

          7. ทบทวนแผนการดำเนินงานศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยที่เกิดขึ้นในระหว่างปีการศึกษา เพื่อสามารถนำไปประเมินความสำเร็จของแผนได้อย่างครอบคลุม

          8. ต่อยอดการจัดการความรู้ในพันธกิจที่เกี่ยวกับงานวิจัย หรือการบริการวิชาการของบุคลากรสายวิชาการอย่างน้อย 2 พันธกิจ

          9. ควรกำกับติดตามแผนบริหารและแผนพัฒนาอาจารย์รายบุคคลเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ระบุไว้ในแผนแต่ละปีการศึกษาเพื่อวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคเพื่อปรับปรุงในปีการศึกษาต่อไป

ทั้งนี้ โดยผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 9/2565 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2565 ณ ห้องประชุมเอกศักดิ์บุตรลับ อาคารสุเมธตันติเวชกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะครุศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564