รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564

 

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564

ตารางวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานอุดมศึกษา

มาตรฐาน

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

ผลการประเมิน

I

P

O

รวม

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 -

5.00

4.72

4.83

ดีมาก

มาตรฐานที่ 2 การวิจัย ฯ

5.00

5.00

5.00

5.00

ดีมาก

มาตรฐานที่ 3 การบริการวิชาการ

 -

5.00

5.00

5.00

ดีมาก

มาตรฐานที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

 -

5.00

5.00

5.00

ดีมาก

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ

4.13

5.00

4.27

4.65

ดีมาก

คะแนนเฉลี่ยทุกองค์ประกอบ

4.57

5.00

4.84

4.88

ดีมาก

ผลการประเมิน

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

 

 

ตารางผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

มาตรฐานคุณภาพ

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

บรรลุเป้าหมาย

คะแนนการประเมิน

ตัวตั้ง

ผลลัพธ์

P= บรรลุ

ของคณะกรรมการ

ตัวหาร

(%หรือสัดส่วน)

û= ไม่บรรลุ

 

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 

 

 

1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรที่มีพัฒนาการดีขึ้น

70

%

1

100.00

P

5.00

1

1.2 ความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพบัณฑิต

95

%

262

262.00

P

5.00

100

1.3 สมรรถนะด้านทักษะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา

4.50

 คะแนน

742

4.15

û

4.15

179

1.4 ระบบและกลไกการบริหารจัดการด้านผลลัพธ์ผู้เรียน

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

1.5 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาตรี

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 1

4.83

มาตรฐานที่ 2 ผลลัพธ์การวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม

 

2.1 เงินสนับสนุนงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมจากภายนอก

3.75

คะแนน

2,810,430

82,659.71

P

5.00

34

2.2 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์

 18

%

7

20.59

P

5.00

34

2.3 ผลงานที่อยู่ระหว่างการคุ้มครองสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญาของอาจารย์ประจำคณะ

3.50

คะแนน

4

11.76

P

5.00

34

2.4 จำนวนการอ้างอิงบทความของอาจารย์ประจำคณะในฐานข้อมูลของ TCI หรือ SCOPUS หรือฐานข้อมูลที่ กพอ.กำหนด ต่อจำนวนอาจารย์ประจำคณะ

3.75

คะแนน

18

0.53

P

5.00

34

2.5 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรม

4

ข้อ

1,2,3,4,5

5

P

 5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 2

5.00

มาตรฐานที่ 3 ผลลัพธ์ด้านการบริการวิชาการ

 

3.1 รายได้จากการบริการวิชาการ

3.75

คะแนน

1,561,200

  45,917.65

P

5.00

34

3.2  จำนวนผลิตภัณฑ์หรือองค์ความรู้ที่มีส่วนร่วมกับชุมชน

4.50

คะแนน

19

475.00

P

5.00

4

3.3 การพัฒนาท้องถิ่น

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 3

5.00

มาตรฐานที่ 4 ผลลัพธ์ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

 

4.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้หรือองค์ความรู้ด้านศิลป วัฒนธรรมและความเป็นไทย

4.5

คะแนน

8

23.53

P

5.00

34

4.2 ระบบและกลไกศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

5

ข้อ

1,2,3,4,5,6,7

7

P

5.00

 เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 4

5.00

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ

 

5.1 การบริหารของคณะ

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6,7

7

P

5.00

5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

5.3 ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของคณบดี

3.51

คะแนน

 

4.27

P

4.27

5.4 ผลการบริหารอาจารย์

 4.50

คะแนน

14

41.18

P

5.00

34

 

 4.50

คะแนน

12

35.29

O

2.94

34

 

 4.50

คะแนน

11

32.35

P

5.00

34

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 5

4.65

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกมาตรฐาน

4.88

 

  • จุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการต่อไป

จุดแข็ง

  1. คณะมีการวางแผน กำกับ ติดตามการดำเนินงานในการผลิตบัณฑิตและพัฒนานักศึกษาอย่างใกล้ชิดและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีกิจกรรมการส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของบัณฑิตและนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง
  2. คณะมีระบบกลไกในการส่งเสริมการบริหารงานวิจัย พัฒนางานวิจัย งานสร้างสรรค์และนวัตกรรม อย่างเป็นระบบส่งผลให้มีผลงานที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง สามารถสร้างความเข้มแข็งให้กับหน่วยงานและชุมชนที่ใช้ประโยชน์ได้อย่างชัดเจน
  3. คณะมีความโดดเด่นและความเข้มแข็งด้านการบริการวิชาการจากการสร้างรายได้ รวมถึงผลิตภัณฑ์และองค์ความรู้ที่สร้างมูลค่า สามารถเพิ่มรายได้ รวมถึงความเข้มแข็งและความยั่งยืนให้กับชุมชนในทุกมิติ
  4. คณะมีการวิเคราะห์ และบูรณาการด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยเข้ากับงานวิจัยและบริการวิชาการที่โดดเด่น ส่งผลให้มีจำนวนแหล่งเรียนรู้และองค์ความรู้ที่สะท้อนบริบทด้านวัฒนธรรม ภูมิปัญญาของชุมชนได้อย่างชัดเจน

     5.ผู้บริหารมีการดำเนินการเชิงรุก รวมถึงมีการทบทวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์และวิสัยทัศน์ที่สามารถสร้างอัตลักษณ์และเอกลักษณ์อย่างต่อเนื่องและชัดเจนส่งผลให้การพัฒนากลยุทธ์ต่าง ๆได้มีประสิทธิภาพและบรรลุผลอย่างชัดเจน

    

แนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะควรมีการประเมินเพื่อส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะด้านทักษะการเป็นผู้ประกอบการ เพื่อสร้างความเข้มแข็งและความโดดเด่นให้กับคณะต่อไป
  2. คณะควรถอดองค์ความรู้ด้านการบริหารงานวิจัยที่มีประสิทธิภาพเพื่อนำไปเป็นต้นแบบให้กับหน่วยงานอื่น รวมถึงสร้างเครือข่ายในระดับชาติและนานาชาติเพิ่มขึ้น เพื่อสร้างชื่อเสียงให้กับคณะต่อไป
  3. คณะควรนำเครือข่ายที่มีอยู่มาช่วยสร้างมาตรฐานผลิตภัณฑ์ให้สูงขึ้น และขยายผลการดำเนินงานไปยังชุมชนที่ยังต้องการสร้างความร่วมมือ เพื่อสร้างองค์ความรู้และการบริการวิชาการที่กว้างขวางขึ้น

      4.คณะควรเพิ่มโอกาสในการแข่งขันผลิตภัณฑ์ด้านศิลปวัฒนธรรมให้กับชุมชน เพื่อเพิ่มการประชาสัมพันธ์ และการได้รับรางวัลหรือการยกย่องในระดับชาติหรือนานาชาติต่อไป

      5.คณะควรเร่งหามาตรการและวิธีการกำกับติดตามการพัฒนาการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์ประจำคณะ เพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านวิชาการให้คณะต่อไป

ทั้งนี้ โดยผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 9/2565 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2565 ณ ห้องประชุมเอกศักดิ์บุตรลับ อาคารสุเมธตันติเวชกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564