รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564

ตารางวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานคุณภาพ

มาตรฐานคุณภาพ

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

ผลการประเมิน

I

P

O

รวม

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 -

4.00

4.12

4.07

ดี

มาตรฐานที่ 2 การวิจัย ฯ

5.00

5.00

4.02

4.41

ดี

มาตรฐานที่ 3 การบริการวิชาการ

 -

4.00

2.60

3.07

พอใช้

มาตรฐานที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

 -

4.00

5.00

4.50

ดี

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ

4.13

5.00

3.84

4.27

ดี

คะแนนเฉลี่ยทุกมาตรฐาน

4.57

4.43

3.85

4.09

ดี

ผลการประเมิน

ดีมาก

ดี

ดี

ดี

 

 

ตารางผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

มาตรฐานคุณภาพ

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

บรรลุเป้าหมาย

คะแนนการประเมินของคณะกรรมการ

 

ตัวตั้ง

ผลลัพธ์

P= บรรลุ

ตัวหาร

(%หรือสัดส่วน)

û= ไม่บรรลุ

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 

 

 

1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรที่มีพัฒนาการดีขึ้น

70

%

3

60.00

û

3.75

5

1.2 ความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพบัณฑิต

95

%

130

130.00

P

5.00

100

1.3 สมรรถนะด้านทักษะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา

4.50

 คะแนน

358

3.62

û

3.62

99

1.4 ระบบและกลไกการบริหารจัดการด้านผลลัพธ์ผู้เรียน

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

5

P

4.00

1.5 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาตรี

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

5

P

4.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 1

4.07

มาตรฐานที่ 2 ผลลัพธ์การวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม

 

2.1 เงินสนับสนุนงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมจากภายนอก

 3.75

คะแนน

3,188,721

  65,746.83

P

5.00

48.5

2.2 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์

 18

%

4

8.25

O

2.06

48.5

2.3 ผลงานที่อยู่ระหว่างการคุ้มครองสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญาของอาจารย์ประจำคณะ

 3.50

คะแนน

2

4.12

P

5.00

48.5

2.4 จำนวนการอ้างอิงบทความของอาจารย์ประจำคณะในฐานข้อมูลของ TCI หรือ SCOPUS หรือฐานข้อมูลที่ กพอ.กำหนด ต่อจำนวนอาจารย์ประจำคณะ

 3.75

คะแนน

125

2.58

P

5.00

48.5

2.5 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรม

4

ข้อ

1,2,3,4,5

5

P

 5.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 2

4.41

มาตรฐานที่ 3 ผลลัพธ์ด้านการบริการวิชาการ

 

3.1 รายได้จากการบริการวิชาการ

 3.75

คะแนน

50,000

    1,030.93

O

0.21

48.5

3.2  จำนวนผลิตภัณฑ์หรือองค์ความรู้ที่มีส่วนร่วมกับชุมชน

 4.50

คะแนน

8

200.00

P

5.00

4

3.3 การพัฒนาท้องถิ่น

6

ข้อ

1,2,3,4,5

5

P

4.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 3

3.07

มาตรฐานที่ 4 ผลลัพธ์ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

 

4.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้หรือองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม และความเป็นไทย

4.5

คะแนน

7

14.43

P

5.00

48.5

4.2 ระบบและกลไกศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

5

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

4.00

 เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 4

4.50

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ

 

5.1 การบริหารของคณะ

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6,7

7

P

5.00

5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

5.3 ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของคณบดี

3.51

คะแนน

 

3.84

P

3.84

5.4 ผลการบริหารคณาจารย์

4.50

คะแนน

20

41.24

P

5.00

48.5

 

4.50

คะแนน

14

28.87

P

2.41

48.5

 

4.50

คะแนน

6.4

13.20

P

2.27

48.5

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 5

4.27

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกมาตรฐาน

4.09

 

 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการต่อไป

ข้อเสนอแนะ

  1. ให้คณะเขียนแผนผลิตบัณฑิตและวิชาการ ให้ครอบคลุมผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้ง 3 ด้านและตรงกับตัวบ่งชี้ เพื่อนำไปใช้ในการดำเนินการในปีการศึกษา 2565 และควรมีการถอดองค์ความรู้เพื่อเป็นแนวปฏิบัติที่ดี
  2. คณะควรจัดทำแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา มีการเผยแพร่ให้หน่วยงานอื่นนำไปปรับใช้
  3. คณะควรสังเคราะห์งานวิจัย เพื่อนำสู่การใช้ประโยชน์ หรือจัดทำในรูปแบบฐานข้อมูลงานวิจัย
  4. งานวิจัยที่มีการนำไปใช้ประโยชน์ ควรมีหนังสือรับรองจากหน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ด้วย
  5. คณะควรมีการสร้างกลไก ในการส่งเสริมให้อาจารย์นำผลงานวิจัยขอรับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาให้มากขึ้น
  6. คณะควรจัดหารายได้จากการจัดทำหลักสูตรระยะสั้นตามความเชี่ยวชาญของบุคลากรให้มากขึ้น
  7. คณะควรมีการติดตามการประเมินความสำเร็จของตัวชี้วัด และรายงานผลการประเมินตัวชี้วัดให้ชัดเจน
  8. คณะควรมีแนวทางในการขับเคลื่อนให้ชุมชนได้รับการพัฒนาจนเกิดวิสาหกิจชุมชน หรือเกิดผู้ประกอบการใหม่
  9. การดำเนินการตามแผนพัฒนาคณะของตัวบ่งชี้ต่างๆ ให้ดำเนินการในรอบปีการศึกษาที่กำหนดตามคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา

      10.คณะควรมีกระบวนการเร่งรัด (fast track)ให้อาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ

      11.คณะควรมีการพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่องานวิจัย เช่น การรายงานแหล่งทุนวิจัย แหล่งตีพิมพ์เผยแพร่ การจดคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา เป็นต้น

      12.คณะได้รับเงินสนับสนุนงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมจากภายนอก และมีงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์สูงกว่าเป้าหมาย ควรมีการส่งเสริมการนำผลงานเข้ารับการคุ้มครองสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญา

ทั้งนี้ โดยผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 9/2565 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2565 ณ ห้องประชุมเอกศักดิ์บุตรลับ อาคารสุเมธตันติเวชกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564