รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564 

ตารางวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานอุดมศึกษา

องค์ประกอบคุณภาพ

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

ผลการประเมิน

I

P

O

รวม

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 -

4.50

4.52

4.51

ดีมาก

มาตรฐานที่ 2 การวิจัย ฯ

5.00

4.00

2.11

3.07

พอใช้

มาตรฐานที่ 3 การบริการวิชาการ

 -

4.00

5.00

4.67

ดีมาก

มาตรฐานที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

 -

4.00

5.00

4.50

ดี

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ

4.13

5.00

3.53

4.45

ดี

คะแนนเฉลี่ยทุกมาตรฐาน

4.57

4.43

3.84

4.14

ดี

ผลการประเมิน

ดีมาก

ดี

ดี

ดี

 

 

 ตารางผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

องค์ประกอบคุณภาพ

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

บรรลุเป้าหมาย

คะแนนการประเมิน

ตัวตั้ง

ผลลัพธ์

P= บรรลุ

ของคณะกรรมการ

ตัวหาร

(%หรือสัดส่วน)

û= ไม่บรรลุ

 

มาตรฐานที่ 1 ผลลัพธ์ผู้เรียน

 

 

 

1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรที่มีพัฒนาการดีขึ้น

70

%

4

100.00

P

5.00

4

1.2 ความสำเร็จของการพัฒนาศักยภาพบัณฑิต

95

%

100

100.00

P

5.00

100

1.3 สมรรถนะด้านทักษะการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา

4.50

 

257

3.57

O

3.57

72

1.4 ระบบและกลไกการบริหารจัดการด้านผลลัพธ์ผู้เรียน

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

1.5 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาตรี

6

ข้อ

1,2,3,4,5

5

O

4.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 1

4.51

มาตรฐานที่ 2 ผลลัพธ์การวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม

 

2.1 เงินสนับสนุนงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมจากภายนอก

 3.75

คะแนน

1,799,946

74,997.77

P

5.00

24

2.2 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์

 18

%

6

25.00

P

5.00

24

2.3 ผลงานที่อยู่ระหว่างการคุ้มครองสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญาของอาจารย์ประจำคณะ

3.50

คะแนน

0

0.00

O

0.00

24

2.4 จำนวนการอ้างอิงบทความของอาจารย์ประจำคณะในฐานข้อมูลของ TCI หรือ SCOPUS หรือฐานข้อมูลที่ กพอ.กำหนด ต่อจำนวนอาจารย์ประจำคณะ

3.75

คะแนน

16

0.67

O

1.33

24

2.5 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรม

4

ข้อ

1,2,3,4

4

P

 4.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 2

3.07

มาตรฐานที่ 3 ผลลัพธ์ด้านการบริการวิชาการ

 

3.1 รายได้จากการบริการวิชาการ

 3.75

คะแนน

740,145

30,839.38

P

5.00

24

3.2  จำนวนผลิตภัณฑ์หรือองค์ความรู้ที่มีส่วนร่วมกับชุมชน

 4.50

คะแนน

7

350.00

P

5.00

2

3.3 การพัฒนาท้องถิ่น

6

ข้อ

1,2,3,4,5

5

P

4.00

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 3

4.67

มาตรฐานที่ 4 ผลลัพธ์ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

 

4.1 จำนวนแหล่งเรียนรู้หรือองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม และความเป็นไทย

4.5

คะแนน

3

12.50

P

5.00

24

4.2 ระบบและกลไกศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

5

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

4.00

 เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 4

4.50

มาตรฐานที่ 5 การบริหารจัดการ

 

5.1 การบริหารของคณะ

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6,7

7

P

5.00

5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

6

ข้อ

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

5.3 ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของคณบดี

3.51

คะแนน

 

3.53

P

3.53

5.4 ผลการบริหารคณาจารย์

4.50

คะแนน

15

62.50

P

5.00

24

 

4.50

คะแนน

9

37.50

O

3.13

24

 

4.50

คะแนน

6.8

28.33

P

4.72

24

เฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่ 5

4.45

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกมาตรฐาน

4.14

 

จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการต่อไป

จุดแข็ง

  1. คณะมีการวางแผน ดำเนินงานเพื่อพัฒนานักศึกษา และบัณฑิตอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านของการเป็นผู้ประกอบการและศักยภาพอื่นๆ ที่สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ปัจจุบันได้อย่างดี
  2. คณะมีการส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการพัฒนางานวิจัยอย่างชัดเจน และมีการผลักดันเพื่อพัฒนาศักยภาพการทำวิจัยของบุคลากรในคณะอย่างต่อเนื่อง
  3. คณะมีเป้าหมายและชุมชนในการให้บริการวิชาการและพัฒนาองค์ความรู้จากชุมชนที่ชัดเจน ส่งผลให้สามารถสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนเป้าหมายได้อย่างเป็นรูปธรรม
  4. คณะมีการวางแผนในการพัฒนาและสร้างแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตรที่โดดเด่นสามารถนำมาใช้ในการบูรณาการเรียนการสอนและเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมที่โดดเด่นของมหาวิทยาลัย

      5.คณะมีระบบการกำกับดูแลด้านการบริหาร การประกันคุณภาพที่มีประสิทธิภาพสามารถนำมาช่วยในการวางแผนการดำเนินงานได้อย่างเป็นระบบ

     

ข้อเสนอแนะ

  1. คณะควรมีการกำหนดเป้าหมาย และดำเนินการวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อหาองค์ความรู้และแนวปฏิบัติที่ดีจากกิจกรรมที่มีการพัฒนานักศึกษา เพื่อสร้างความโดดเด่นให้กับคณะต่อไป
  2. คณะต้องเร่งพัฒนาระบบเพื่อส่งเสริมกระบวนการนำผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมได้รับการคุ้มครองสิทธิทรัพย์สินทางปัญญาและการใช้ประโยชน์ เพื่อช่วยให้อาจารย์ประจำคณะสามารถได้รับการคุ้มครองสิทธิเพิ่มขึ้น
  3. คณะควรเร่งขับเคลื่อนชุมชนในการพัฒนาให้เกิดวิสาหกิจชุมชน และผู้ประกอบการใหม่จากเครือข่ายของชุมชนที่มีอยู่ เพื่อยกระดับให้เกิดรายได้ และมิติอื่น ๆต่อไป
  4. คณะควรมองหาโอกาสด้านศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นจากชุมชน หรือแหล่งเรียนรู้เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน สร้างรายได้เชิงพาณิชย์ รวมถึงรางวัลทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
  5. คณะควรมีกลยุทธ์เพื่อเร่งการเพิ่มจำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีตำแหน่งทางวิชาการและยกระดับผลงานทางวิชาการ เช่น สร้างระบบพี่เลี้ยงที่ปรึกษา และเครือข่ายเพื่อการพัฒนาผลงานทางวิชาการ

ทั้งนี้ โดยผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 9/2565 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2565 ณ ห้องประชุมเอกศักดิ์บุตรลับ อาคารสุเมธตันติเวชกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564