รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564

ตารางผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

มาตรฐานคุณภาพ

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

บรรลุเป้าหมาย

คะแนนการประเมิน

 

ตัวตั้ง

ผลลัพธ์

P= บรรลุ

ของคณะกรรมการ

 

ตัวหาร

(%หรือสัดส่วน)

O= ไม่บรรลุ

 

 

ตัวบ่งชี้บังคับ

 

 

 

 

 

 

 

1.1 การบริหารของหน่วยงานสนับสนุนวิชาการ เพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามภารกิจ

4

คะแนน

1,2,3,4,5

5

P

5.00

 

1.2 การส่งเสริมการใช้งานวิเคราะห์ หรืองานวิจัยสถาบันเพื่อการพัฒนาหน่วยงาน

4

คะแนน

1,2,3,4,5

5

P

5.00

 

1.3 ระดับความสำเร็จของการให้บริการ

4

คะแนน

1,2,3,4,5

5

P

5.00

 

1.4 ระดับความผูกพันของบุคลากร

4.50

คะแนน

 

4.22

O

4.22

 

1.5 ระดับความสำเร็จการพัฒนาสู่สำนักงานสีเขียว (Green office)

4

คะแนน

1,2,3,4,5

5

P

5.00

 

1.6.1. ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล

4

คะแนน

1,2,3,4,5,6

5

P

5.00

 

1.6.2. ระบบการพัฒนาบุคลากร

4

คะแนน

1,2,3,4,5,6

5

P

 

1.7. ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของผู้บริหารระดับหน่วยงาน

3.51

คะแนน

 

4.4

P

4.40

 

 

 

 

 คะแนนเฉลี่ยตัวบ่งชี้บังคับ

4.80

 

ตัวบ่งชี้ร่วม

 

 

 

 

 

 

 

2.1 ระบบการพัฒนาคณาจารย์ให้มีคุณวุฒิปริญญาเอก 

4

คะแนน

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

 

2.2 ระบบการพัฒนาคณาจารย์ให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ

4

คะแนน

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

 

 

คะแนนเฉลี่ยตัวบ่งชี้ร่วม

5.00

 

ตัวบ่งชี้เฉพาะ

 

 

 

 

 

 

 

4.1 กระบวนการพัฒนาแผน

4

คะแนน

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

 

4.2 การบริหารจัดการการเงิน

4

คะแนน

1,2,3,4,5,6

6

P

5.00

 

4.3 ความพร้อมทางกายภาพต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ระบบสาธารณูปโภค และสิ่งอำนวยความสะดวกภายในมหาวิทยาลัย

4

คะแนน

1,2,3,4,5

5

P

5.00

 

4.4 ผลงานการออกแบบเพื่อปรับปรุงพื้นที่ใช้สอยของอาคาร

4

คะแนน

1,2,3

3

P

3.00

 

4.5 การบริหารงานด้านประชาสัมพันธ์เสริมสร้างภาพลักษณ์มหาวิทยาลัย

4

คะแนน

1,2,3,4,5

5

P

5.00

 

4.6 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาระดับปริญญาตรีให้มีทักษะศตวรรษที่ 21

4

คะแนน

1,2,3,4,5,6,7

7

P

5.00

 

4.7 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ

4

คะแนน

1,2,3,4,5

5

P

5.00

 

4.8 ผลการวัดสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษตามกรอบ CEFR ของนักศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับ B1 หรือเทียบเท่า

4.50

คะแนน

138

21.04

P

5.00

 

656

 

4.9 การบริหารจัดการงานพัสดุ

4

คะแนน

1,2,3,4,5

5

P

5.00

 

4.10 การกำกับพัฒนาฝีมือแรงงาน

4

คะแนน

1,2,3,4

4

P

4.00

 

4.11 จำนวนรางวัลด้านกีฬาที่นักศึกษาได้รับ

3.51

คะแนน

6

85.71

P

5.00

 

7

 

4.12. การพัฒนาคุณภาพมหาวิทยาลัยเพื่อความเป็นเลิศ

4

คะแนน

1,2,3,4,5

5

P

5.00

 

 

 

 

 คะแนนเฉลี่ยตัวบ่งชี้เฉพาะ

4.73

 

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกตัวบ่งชี้

4.78

 

จุดแข็ง และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการต่อไป

จุดแข็ง

  1. มีผลงานวิจัยสถาบันและงานวิเคราะห์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ หน่วยงานภายนอกสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
  2. สำนักงานสามารถส่งเสริมบุคลากรให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น สามารถสร้างนวัตกรรม ที่เป็นผลงานเชิงประจักษ์
  3. มีแผนการประชาสัมพันธ์ การผลิตสื่อ โดยมีการเผยแพร่ระดับท้องถิ่นและระดับประเทศและมีการพัฒนาผลงานวิจัยเผยแพร่ในระดับชาติรวมทั้งใช้สื่อเพื่อการเผยแพร่ภาพลักษณ์ของมหาลัย ในฐานะมหาวิทยาลัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
  4. มหาวิทยาลัยมีแผนการพัฒนาระบบสารสนเทศมีการดำเนินการและมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้มหาวิทยาลัยมีการจัดอันดับ เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
  5. มีการนำ e-learning เข้ามาใช้เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ ส่งผลให้มีจำนวนนักศึกษาที่สอบผ่านมากขึ้น

ข้อเสนอแนะ

  1. สำนักงานอธิการบดีควรทบทวนระยะเวลาในการจัดทำแผนกลยุทธ์และแผนปฏฺิบัติการให้สอดคล้องกับระยะเวลา รอบปีการศึกษา
  2. ควรพิจารณายกระดับการจัดการความรู้ โดยนำเกณฑ์มาตรฐานสากลมาใช้ทำให้องค์กรมีสมรรถนะสูงตามวิสัยทัศน์
  3. ควรนำผลการประเมินด้าน Happy University มาวิเคราะห์เพื่อออกแบบกิจกรรม สร้างความสุข ส่งผลให้การทำงานของบุคลากรในหน่วยงาน มีค่าเฉลี่ยที่สูงขึ้น
  4. ควรพัฒนาอาจารย์ ให้มีความเชี่ยวชาญ เฉพาะสาขานอกเหนือจากคุณวุฒิการศึกษาในตำแหน่งวิชาการ จะส่งผลให้มหาวิทยาลัยมีอาจารย์ที่มีสมรรถนะสูง
  5. ควรสื่อสารระบบและกลไกพัฒนาอาจารย์ให้มีตำแหน่งทางวิชาการตามเกณฑ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องและดำเนินการเชิงรุกเพื่อคงไว้ซึ่งการให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์
  6. ควรมีการจัดกลุ่มของตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน โดยแบ่งออกเป็น ผลผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบ ทั้งนี้ ควรให้ความสำคัญกับการดำเนินงานที่จะส่งผลกระทบต่อวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน โดยมีการกำกับติดตาม ตามรอบระยะเวลาและความถี่ที่เหมาะสม
  7. ควรส่งเสริม ผลักดัน การนำเกณฑ์การพัฒนาการศึกษาที่มีความเป็นเลิศมาใช้ใน หน่วยงานระดับคณะ สำนักสถาบัน โดยเร็ว การดำเนินการดังกล่าวจะส่งผลให้มหาวิทยาลัยมีการดำเนินการตามมาตรฐานการจัดการการศึกษาระดับอุดมศึกษา ได้อย่างมีประสิทธิภาพและอาจส่งผลให้มหาวิทยาลัยบรรลุวิสัยทัศน์ที่กำหนด
  8. สำนักงานอธิการบดีควรพิจารณาแหล่งรายได้ของมหาวิทยาลัยทั้งหมด เพื่อนำไปมาใช้ในการวางแผนการจัดการค่าใช้จ่ายในแต่ละหมวด ให้เกิดประสิทธิภาพ การดำเนินการดังกล่าว ส่งผลให้มหาวิทยาลัยสามารถจัดการตัวเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  9. สำนักงานอธิการบดีควรนำผลการประเมินความพึงพอใจของการใช้อาคารการเรียน ปฎิบัติการ มาปรับปรุงบริการ เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจมากขึ้น
  10. ควรมีการกำหนดตัวบ่งชี้ความสำเร็จ ที่เน้นผลลัพธ์และผลกระทบของการดำเนินการตามแผน ด้านการบริหารงานประชาสัมพันธ์
  11. ควรกำหนดกลุ่มผู้เรียนและผู้รับบริการเป้าหมายให้มีความชัดเจนรวมทั้ง ศึกษาความต้องการและความคาดหวังต่อการรับสื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อนำมากำหนดกลยุทธการประชาสัมพันธ์ที่สอดคล้องและตรงตามความต้องการการดำเนินการดังกล่าว ส่งผลให้มหาวิทยาลัยมีภาพลักษณ์ที่ดี เป็นที่ยอกมรับและรู้จักในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ
  12. ควรมีการตั้งเป้าหมายการขอรับรางวัลด้านความพร้อมทางกายภาพให้มีความชัดเจนเพื่อนำเกณฑ์มาใช้ในการปรับปรุงกระบวนการ
  13. ควรวางภาพอนาคตของการเป็น มหาวิทยาลัยดิจิทัลให้มีความชัดเจน โดยพิจารณาถึงบริบทและสภาพแวดล้อมของเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้อาจจะวางแผนระบบ แพลตฟอร์ม ที่สำคัญต่อการดำเนินการพันธกิจของมหาวิทยาลัย รวมทั้งระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร อาจส่งผลให้มหาวิทยาลัยมีระบบสารสนเทศที่รองรับการต้องการของผู้รับบริการทุกกลุ่มและมีสารสนเทศเพื่อนำมาใช้ตัดสินใจกลยุทธ์ได้อย่างตรงตามสถานการณ์

ทั้งนี้ โดยผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 9/2565 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2565 ณ ห้องประชุมเอกศักดิ์บุตรลับ อาคารสุเมธตันติเวชกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564