รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564

ตารางผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

องค์ประกอบคุณภาพ

เป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

บรรลุเป้าหมาย

คะแนนการประเมิน

ตัวตั้ง

ผลลัพธ์

P= บรรลุ

ของคณะกรรมการ

ตัวหาร

(%หรือสัดส่วน)

û= ไม่บรรลุ

 

ตัวบ่งชี้บังคับ

 

 

 

 

 

 

1.1 การบริหารของหน่วยงานสนับสนุนวิชาการ เพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามภารกิจ

4

คะแนน

1,2,3,4,5

5

P

5.00

1.2 การส่งเสริมการใช้งานวิเคราะห์ หรืองานวิจัยสถาบันเพื่อการพัฒนาหน่วยงาน

4

คะแนน

1,2,3,4

4

P

4.00

1.3 ระดับความสำเร็จของการให้บริการ

4

คะแนน

1,2,3,4,5

5

P

5.00

1.4 ระดับความผูกพันของบุคลากร

4.50

คะแนน

 

4.54

P

4.54

1.5 ระดับความสำเร็จการพัฒนาสู่สำนักงานสีเขียว (Green office)

4

คะแนน

1,2,3,4,5

5

P

5.00

1.6.1     ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล

4

คะแนน

1,2,3,4,5

5

P

5.00

1.6.2 ระบบการพัฒนาบุคลากร

4

คะแนน

1,2,3,4,5

5

P

5.00

1.7 ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของผู้บริหารระดับหน่วยงาน

3.51

คะแนน

 

4.39

P

4.39

 คะแนนเฉลี่ยตัวบ่งชี้บังคับ

4.63

ตัวบ่งชี้เฉพาะ

 

 

 

 

 

 

3.1 ระดับความสำเร็จการพัฒนาสู่ห้องสมุดสีเขียว (Green Library)

4

คะแนน

1,2,3,4

4

P

4.00

3.2 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 

5

คะแนน

1,2,3,4,5

5

P

5.00

3.3 จำนวนคลังข้อมูลดิจิทัล

4.50

คะแนน

10

100.00

P

5.00

10

3.4 ระดับความสำเร็จระบบและกลไกการบริการวิชาการแก่สังคม

5

คะแนน

1,2,3,4,5

5

P

5.00

3.4 นวัตกรรมการบริการสารสนเทศเชิงรุก

4.5

คะแนน

3

150.00

P

5.00

2

 คะแนนเฉลี่ยตัวบ่งชี้เฉพาะ

5.00

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกองค์ประกอบ

4.77

 

จุดแข็ง และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการต่อไป

จุดแข็ง

  1. บุคลากรมีศักยภาพสูงทั้งด้านความรู้ ประสบการณ์ รวมถึงมีจิตบริการ และมีการเตรียมพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
  2. สำนักวิทยบริการมีการพัฒนาการให้บริการที่หลากหลาย ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ โดยเห็นได้จากการสร้างนวัตกรรมที่ส่งผลให้เกิดการเข้าถึงของผู้ใช้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3. สำนักวิทยบริการได้นำเกณฑ์มาตรฐานห้องสมุดสีเขียวมาประกอบการบริหารจัดการได้อย่างเป็นระบบ จนได้รับรางวัล และเป็นหน่วยงานต้นแบบให้กับมหาวิทยาลัย รวมทั้ง มีการหาคู่เทียบระดับท้าทาย
  4. มีการนำเกณฑ์มาตรฐานการให้บริการทั้งจากภายในและภายนอกหน่วยงานมากำกับการปฏิบัติงานของบุคลากร ทำให้งานบริการมีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดไว้
  5. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ และมีระบบการบริหาร กำกับติดตามให้เป็นไปตามนโยบายและแผนที่วางไว้

 

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

  1. ทบทวนแผนบริหารความเสี่ยง เพื่อให้เกิดความชัดเจนและสามารถบริหารให้ความเสี่ยงลดลงได้ โดยเฉพาะประเด็นความเสี่ยงที่ไม่เคยเกิดขึ้น แต่มีโอกาสเกิดขึ้นในอนาคต หรือ เคยเกิดขึ้นในอดีต และมีโอกาสเกิดขึ้นในอนาคตที่ส่งผลสำนักวิทยบริการ
  2. ควรนำผลการประเมินความผูกพันของบุคลากรมาวิเคราะห์รายข้อ เพื่อมาวางแผนในการจัดทำแผนสร้างความสุข
  3. ควรมีแนวทาง/กลยุทธ์ในการผลักดันในบุคลากรเขียนผลงานวิจัยจากงานประจำ เพื่อเป็นแนวทางในการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น และมีการวางแผนเป้าหมายการพัฒนาตนเอง
  4. ควรต่อยอดโครงการบริการวิชาการโดยทำเป็นผลงานบริการวิชาการ “รับใช้สังคม”
  5. ควรมีการแยกคู่มือการปฏิบัติงานและวิจัยออกจากกัน

 ทั้งนี้ โดยผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 9/2565 เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2565 ณ ห้องประชุมเอกศักดิ์บุตรลับ อาคารสุเมธตันติเวชกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน  สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ประจำปีการศึกษา 2564